ปี 2566
ปี 2564
ปี 2563
ปี 2562
ปี 2561
ปี 2560
ปี 2559
ปี 2558
ปี 2557
ปี 2554
ทรงยศ บัวเผื่อน. (2566). สื่อมวลชนท้องถิ่นภาคตะวันออกกับการรายงานข่าวเศรษฐกิจ: กรณีศึกษาช่วงการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา (25 สิงหาคม 2557 – 9 มิถุนายน 2562). ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 16 วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2566 (หน้า 382-394). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา. | |
ทรงยศ บัวเผื่อน. (2566). สำนวนเก่า และสำนวนใหม่ที่ปรากฏในคอลัมน์ “ลึกแต่ไม่ลับ” ของจรัญ พงษ์จีน. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 16 วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2566 (หน้า 370-381). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา. |
ไวทิน จิตมั่น, ทรงยศ บัวเผื่อน และบุญอยู่ ขอพรประเสริฐ. (2564). พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารการใช้บริการ และความพึงพอใจของนิสิตระดับปริญญาตรีที่มีต่อการให้บริการของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยบูรพา. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ Communication ArtsRBRU Conference ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 (หน้า 199-206) จันทบุรี:คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. ” |
ธีร ชัยสุทธิ และวรธรรม พงษ์สีชมพู. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการสื่อสาร ความพึงพอใจต่อการสื่อสารและประสิทธิผลของการสื่อสารภายในองค์กรของผู้ปฏิบัติงานสังกัดสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยบูรพา. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ Communication Arts RBRU Conference ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 (หน้า 346-355) จันทบุรี: คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.” |
ปรีชญา เจริญเศรษฐกุล และวรธรรม พงษ์สีชมพู. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ข่าวสาร ภาพลักษณ์ และพฤติกรรมการท่องเที่ยวชุมชนจักสานพนัสนิคมของนักท่องเที่ยวชาวไทย. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติครั้งที่ 14 และระดับนานาชาติครั้งที่ 1เมื่อวันที่ 17-18 มิถุนายน พ.ศ. 2564 (หน้า 558-572) ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.” |
ปาจารีย์ ปุรินทวรกุล. (2564). การวิจัยเชิงเอกสารเพื่อสังเคราะห์แนวทางการปกป้องคุ้มครองสิทธิเด็กในการรายงานข่าวบนสื่อสังคมออนไลน์. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานทางวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 (The 5th UTCC National Conference) เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2564 (หน้า 1801-1819) กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.” |
บุหงา ชัยสุวรรณ พรรณพิลาศ กุลดิลก ชัชญา สกุณา ประภาภรณ์ รัตโน ธนภร เจริญธัญสกุล สุรชัย ศรีนรจันทร์ และฐิติรัตน์ เจนศิริรัตนากร (2564). โครงการพัฒนาพื้นที่ปฏิบัติการทางสังคมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการตรวจสอบข้อเท็จจริงของข่าวสารและรับมือกับปัญหาข่าวปลอม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติในวันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 53 ปี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เรื่อง การคาดการณ์อนาคตนวัตกรรมเพื่อกลยุทธ์การพัฒนาอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. |
นลินรัตน์ อ่ำช้าง, กังวาฬ ฟองแก้ว และบุญอยู่ ขอพรประเสริฐ. (2564). การรับรู้ข่าวสารประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์กับภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยบูรพา ในมุมมองของนิสิต. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ Communication Arts RBRU Conference ครั้งที่ 1เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 (หน้า 217-224) จันทบุรี: คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.” |
สุภนิดา รัตนสูตร์ และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2564). ความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการแบรนด์ ร้านซักรีดในจังหวัดชลบุรี. ในการประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติครั้งที่ 14 และระดับนานาชาติครั้งที่ 1: ความท้าทายทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในยุคดิจิทัล: เฟื่องฟูหรือถดถอย? (หน้า 470-485). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
อังศุมาลิน ทับม่วง และชวนวล คณานุกูล. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ค่านิยมกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน.ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติครั้งที่ 14 และระดับนานาชาติครั้งที่ 1: ความท้าทายทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในยุคดิจิทัล: เฟื่องฟูหรือถดถอย? (หน้า573-588). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
สุชาวดี ณรงค์ชัย และพรรณพิลาศ กุลดิลก. (2563). ความรู้ทัศนคติและพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ออร์แกนิคสำหรับดูแลผิวพรรณและเส้นผมของผู้บริโภคชาวไทย. ใน การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติครั้งที่ 10 เมื่อวันที่25 – 26 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (หน้า 412–420). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. |
วฤณดา ทองเนื้อสุก และสุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการคอร์สเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านการสื่อสารและการบริหารจัดการ ครั้งที่ 4 (หน้า 480-496).กรุงเทพมหานคร: คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. |
ชนิดาภา เซี้ยงแขก และสุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์. (2563). การวิเคราะห์ตัวบทและการถอดรหัสของงานโฆษณาที่บ่งบอกความหลากหลายทางเพศของผู้บริโภคชาวไทย. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านการสื่อสารและการบริหารจัดการ ครั้งที่ 4 (หน้า 833-845). กรุงเทพมหานคร: คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. |
สุดารัตน์ ศรีพงษ์ และชวนวล คณานุกูล. (2563). อิทธิพลของบุคลิกภาพของยูทูปเบอร์ที่มีต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ทัศนคติต่อยูทูปเบอร์ และความตั้งใจในการซื้อสินค้าที่มีความเกี่ยวพันสูงและต่ำ. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ “UTCC Academic Day ครั้งที่ 4” (หน้า 2991-3007). กรุงเทพมหานคร: กองส่งเสริมงานวิจัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. |
ศิริพร วชิรโสวรรณ และชวนวล คณานุกูล. (2563). การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจ การมีส่วนร่วมในช่องยูทูป และความตั้งใจใช้บริการร้านอาหาร ของผู้ชมการรีวิวอาหารโดยยูทูปเบอร์. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ “UTCC Academic Day ครั้งที่ 4” (หน้า 2978-2990). กรุงเทพมหานคร: กองส่งเสริมงานวิจัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. |
วีระภัทร ธนะวิชัย และวรธรรม พงษ์สีชมพู. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสาร ความคิดเห็นทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมืองในยุค 9 คสช. ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร. ใน การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 14 เมื่อวันที่ 4-5 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 (หน้า 9-15). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.” |
นัทปภา นุชาภัทร และวรธรรม พงษ์สีชมพู. (2562). การเปิดรับข่าวสาร พฤติกรรมและความพึงพอใจต่อการใช้บริการโครงเน็ตประชารัฐของประชาชน อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562 (หน้า 94-107). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.” |
สุธิดา ชิโนดม และประเสริฐ ช่วยแก้ว. (2562). การสื่อสารเพื่อการมีส่วนร่วมของชุมชน กรณีศึกษาการจัดการท่องเที่ยวตลาดท่าเรือพลี จ.ชลบุรี. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562 (หน้า 663-676). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา. ” |
ตวงลาภ เปี่ยมอยู่สุข. (2562). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ Food Delivery ในเขตตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562 (หน้า 677-691). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.” |
ตวงทอง สรประเสริฐ. (2562). กลยุทธ์การจัดจําหน่ายภาพยนตร์สารคดีในประเทศไทย กรณีศึกษา: Documentary Club. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562 (หน้า 530-543). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.” |
พรรณพิลาศ กุลดิลก. (2562). สถานการณ์การสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก: กรณีศึกษาหมู่บ้านนายม จังหวัดชัยภูมิ. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติในวันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 53 ปี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2562 (หน้า 741-754). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. |
ปาจารีย์ ปุรินทวรกุล. (2562). การรู้เท่าทันข่าวการเลือกตั้งทั่วไปปี 2562 ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งครั้งแรก. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562 (หน้า 576-594). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.” |
ชุณิภา เปิดโลกนิมิต, กังวาฬ ฟองแก้ว, สุกัญญา บูรณเดาชัย และบุญอยู่ ขอพรประเสริฐ. (2562). การขับเคลื่อนในประเด็นสิทธิความหลากหลายทางเพศผ่านการกระทําเชิงภาษาบนเฟซบุ๊กเพจของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562 (หน้า 170-185). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา. ” |
ตวงทอง สรประเสริฐ. (2561). การสร้างคุณค่าของสินค้า “เสื้อยืดวินเทจ” ในประเทศไทย. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2561 (หน้า 253-267). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา. |
ชิตาภา สุขพลํา. (2561). การสื่อสารอัตลักษณ์ผ่านสื่อเฟซบุ๊กไลฟ์ (Facebook Live) ของวัยรุ่นไทย. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2561 (หน้า 170-182). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.” |
ทรงยศ บัวเผื่อน. (2561). คอลัมนิสต์หนังสือพิมพ์กับการวิพากษ์วิจารณ์การบริหารประเทศตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของ พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2561 (หน้า 285-301). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา |
กันต์ลิตา จำปาน และวรธรรม พงษ์สีชมพู. (2561). ภาพลักษณ์และความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของ องค์การบริหารส่วนตําบลนาทราย อําเภอเมือง จังหวัดนครพนม. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2561 (หน้า 200-215). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.” |
กฤชกร เกตทองมงคล และทรงยศ บัวเผื่อน. (2561). การใช้สื่อสังคม (Social Media) ในการเคลื่อนไหวทางการเมืองของศิลปินดาราในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2561 (หน้า 45-58). ชลบุรี:มหาวิทยาลัยบูรพา.” |
ปาจารีย์ ปุรินทวรกุล. (2561). บทบาทหน้าที่ของสำนักข่าวออนไลน์และปฏิกิริยาตอบกลับของผู้ใช้เฟซบุ๊กต่อการนำเสนอข่าวที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเด็กผ่านทางสื่อเฟซบุ๊กของสำนักข่าวออนไลน์. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2561 (หน้า 493-508). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.” |
ณัฐพล ชลวนารัตน์, กังวาฬ ฟองแก้ว, สุกัญญา บูรณเดชาชัย และบุญอยู่ ขอพรประเสริฐ. (2561). การใช้อำนาจของชนชั้นปกครองที่ปรากฏในงานวรรณกรรมของ จอร์จ ออร์เวลล์: กรณีศึกษานวนิยายแปลเรื่อง แอนิมอล ฟาร์ม. ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9 เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2561 (หน้า 600-610). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.” |
รัตนาภรณ์ ธนิกกุล และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2561). การเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ และการรับรู้คุณค่าแบรนด์ มหาวิทยาลัยในระดับวิทยาเขตหลัก วิทยาเขตในภาคตะวันออก และคณะของนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ของมหาวิทยาลัยในภาคตะวันออกของประเทศไทย. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 13 ประจำปี 2562 (หน้า 487-498). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
สุขุมาภรณ์ ปานมาก และชวนวล คณานุกูล. (2561). การตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารแบบส่งถึงที่ของผู้บริโภคจังหวัดชลบุรี.ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 12 ประจำปี 2561 (หน้า 798-811). ชลบุรี:คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา. |
กมลพรรณ อาการส และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2560). แนวคิดเกี่ยวกับตนเองและความสอดคล้องในตนเองของแฟนคลับกับศิลปินเพลงเกาหลี. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 11 ประจำปี 2560 (หน้า 35-46). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
ณัฐชา พุทธารักษ์สกุล และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2560). พฤติกรรมการท่องเที่ยวและพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการท่องเที่ยว ของนักท่องเที่ยวกลุ่มเจเนอเรชั่นซี. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 11 ประจำปี 2560 (หน้า 208-221). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
นันทิตา ทรงโยธิน และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2560). ทัศนคติของผู้บริโภคต่อสาร แบรนด์และองค์กรสื่อที่ใช้การตลาดแบบหว่าน ผ่านสื่อสังคมออนไลน์. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 11 ประจำปี 2560 (หน้า 412-424). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
นันทิตา ทรงโยธิน และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2560). ทัศนคติของผู้บริโภคต่อสาร แบรนด์และองค์กรสื่อที่ใช้การตลาดแบบหว่าน ผ่านสื่อสังคมออนไลน์. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 11 ประจำปี 2560 (หน้า 412-424). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
สิริกาญจน์ แก้วทอง และชวนวล คณานุกูล. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าแฟชั่นเพื่อความยั่งยืน. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 11 ประจำปี 2560 (หน้า 849-861). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา. |
วรเดช ผุดผ่อง และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2559). การเปิดรับสื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงสื่อโฆษณาในสื่อเว็บไซต์ยูทูบของวัยรุ่นไทย. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 10 ประจำปี 2559 (หน้า 1022-1032). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
ปริญญา ธีระเกษมสุข และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2559). การเปิดรับสื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงสื่อโฆษณาในโมบายแอพพลิเคชั่นของวัยรุ่นไทย. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 10 ประจำปี 2559 (หน้า 701-713). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
ชุติกานต์ ยินดีสุข และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2559). ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของนักท่องเที่ยวชาวไทย. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 10 ประจำปี 2559 (หน้า 290-304). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
กุลรัตน์ มิตรอุปถัมภ์ และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2559). กลยุทธ์และกระบวนการสร้างตราสินค้าบุคคลพริตตี้. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 10 ประจำปี 2559 (หน้า 70-84). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
อภิญญา ผาสุข และสุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์. (2559). รูปแบบการดำเนินชีวิตที่ส่งเสริมการดูแลสุขภาพและพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคหญิงวัย. ใน การประชุมทางวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 ประจำปี 2559 (หน้า 586-594). กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม. |
เพทาย พงษ์ประดิษฐ์ และชวนวล คณานุกูล. (2559). แรงจูงใจในการซื้อสินค้า หน้าต่างแสดงสินค้าและการตัดสินใจเข้าร้านเบเกอรี่. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 10 ประจำปี 2559 (หน้า 867-880). ชลบุรี:คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา. |
ไณยณันทร์ นิสสัยสุข และชวนวล คณานุกูล. (2559). ค่านิยม ทัศนคติ และพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 10ประจำปี 2559 (หน้า 368-379). ชลบุรี:คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา. |
เอกลักษณ์ จุ่นเจริญ และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2558). แนวคิดเกี่ยวกับตนเองและชุมชนตราสินค้าเวสป้าจังหวัดชลบุรี.ใน การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 5 ประจำปี 2558. นนทบุรี:สำนักบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. |
จุฑารัตน์ ใจดี และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ การรับรู้ความเสี่ยงและพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อผิวขาวประเภททาผิวของผู้บริโภคเพศหญิง. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 9 ประจำปี 2558 (หน้า 485-497). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
เฉลิมเกียรติ อากาศสุภา และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2558). กลยุทธ์รูปแบบการนำเสนอสารของผลิตภัณฑ์ที่มีความเกี่ยวพันสูงและต่ำผ่านสื่อเฟซบุ๊กแฟนเพจ. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 9 ประจำปี 2558 (หน้า 1-16). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
ธิติพงศ์ พงษ์กุล และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่าง การระลึกได้ในตรา ทัศนคติ และความตั้งใจใช้บริการของตราผลิตภัณฑ์ผ่านแทรกเวอร์ไทซิ่ง. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 9 ประจำปี 2558 (หน้า 17-32). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
นภัสชญา ประวัติดี และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2558). การวางแผนสื่อของบริษัทตัวแทนวางแผนและซื้อสื่อในยุคดิจิทัล.ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 9 ประจำปี 2558 (หน้า 43-55). ชลบุรี:คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
สิรินทิพย์ สุขกล่ำ, ชมพูนุช ปัญญไพโรจน์ และมนฤดี ธาดาอำนวยชัย. (2558). การสร้างตราสินค้าเสื้อผ้าแฟชั่นไทย: กรณีศึกษา ตราสินค้า Patinya. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 9 ประจำปี 2558 (หน้า 33-42). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
มาริสา ดีใจ และสุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์. (2558). การมีส่วนร่วมของชุมชนกับภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ บริษัทจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง. ใน การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 9 ประจำปี 2558 (หน้า 531-542). ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
อารยา ลาน้ำเที่ยง และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2557). กลยุทธ์และรูปแบบการนำเสนอสารเพื่อการสื่อสารการตลาดในสื่อเฟสบุ๊คเพจของร้าน เพอร์ แคท คาเฟ่ คลับ. ใน การประชุมวิชาการระดับนานาชาติเรื่อง Transforming Communication Landscape: Lessons from ASEAN. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. |
พรรณพิลาศ กุลดิลก และชมพูนุช ปัญญไพโรจน์. (2554). จริยธรรมของนักวิชาชีพต่อการวางสินค้าในรายการโทรทัศน์ประเภทซิทคอม. ใน การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 1 ประจำปี 2555. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. |