หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563

🎓ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย:        หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา

ภาษาอังกฤษ:    Master of Arts Program in Religion and Philosophy

🎓ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อปริญญาภาษาไทย:     ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศาสนาและปรัชญา)

ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: Master of Arts (Religion and Philosophy)

อักษรย่อภาษาไทย:        ศศ.ม. (ศาสนาและปรัชญา)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ:    M.A. (Religion and Philosophy)

🎓จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 2 ไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต

🎓อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพได้หลากหลาย เช่น ครู อาจารย์ นักเขียน เจ้าหน้าที่ด้านศาสนาและวัฒนธรรม และบุคลากรในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ตลอดจนประกอบอาชีพอิสระ

🎓ปรัชญา

ผลิตมหาบัณฑิตทางศาสนาและปรัชญาเพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจหลักการคิดวิเคราะห์ สร้างโลกทัศน์บนฐานของเหตุผล สามารถวิพากษ์และเข้าใจคุณค่าสาระสำคัญของศาสนาและปรัชญา และดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างเหมาะสม

🎓ความสำคัญ

การขับเคลื่อนสังคมในสถานการณ์สมัยใหม่ อยู่บนพื้นฐานของความรู้ การนำความรู้ไปอธิบายความเป็นไปทางสังคมและเสนอทางเลือกสู่สาธารณะนั้น มีความจำเป็นต้องนำองค์ความรู้ทางศาสนาและปรัชญาไปบูรณาการ ให้สอดคล้องกับบริบททางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งและสร้างสังคมสมานฉันท์ การพัฒนาที่ยั่งยืนและยาวนาน การสร้างบุคลากรที่มีความรู้  ความเข้าใจศาสตร์ทางศาสนาและปรัชญาบนวิธีคิดที่สอดคล้องกับบริบทของสังคม ดังนั้น ศาสตร์ทางศาสนาและปรัชญาจึงมีความสำคัญและจำเป็นในการนำไปประยุกต์ให้เข้ากับสถานการณ์ทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม ศาสตร์ทางศาสนาและปรัชญาจึงมิใช่ศาสตร์ที่หยุดนิ่ง หากแต่เป็นศาสตร์ที่มีพลวัตในการสร้างแนวความคิด เพื่อตอบสนองแนวทางในการพัฒนาประเทศ ตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 และสามารถสร้างความสุขมวลรวมให้กับสังคมอยู่ตลอดเวลา

ท่ามกลางปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองสมัยใหม่ ทุกภาคส่วนมีความเชื่อมโยงกันแบบเครือข่าย การศึกษาเรียนรู้และการเข้าใจปรากฏการณ์ดังกล่าวผ่านวิธีคิดทางศาสนาและปรัชญา จะส่งผลให้เป็นคนที่มีคุณธรรม จริยธรรม เอื้ออาทร มีจิตสาธารณะ เปิดกว้างทางความคิด ยอมรับความเห็นที่แตกต่างท่ามกลางสังคมพหุวัฒนธรรม สู่การสร้างนวัตกรรมทางความคิดที่จะนำมาประยุกต์เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขปราศจากความขัดแย้ง ซึ่งจะยกระดับสถานะทางสังคมไทยไปสู่สังคมที่ขับเคลื่อนด้วยความรู้ การเคารพและการอยู่ร่วมกัน

ด้วยเหตุดังกล่าว ศาสตร์ทางศาสนาและปรัชญา จึงมีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรที่มีองค์ความรู้และให้ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาสังคมอุดมปัญญา ภาควิชาศาสนาและปรัชญาได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563 ขึ้น เพื่อทำหน้าที่สรรค์สร้างองค์ความรู้อันจะนำไปสู่การพัฒนาสังคมไทยอย่างยั่งยืน

🎓วัตถุประสงค์

ผลิตนักวิชาการและนักวิจัยที่สามารถใช้องค์ความรู้ด้านศาสนาและปรัชญา เพื่อตอบสนองความต้องการของสถาบันการศึกษาหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน  เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแล้ว บัณฑิตจะมีสมรรถนะ ดังนี้

1.  มีคุณธรรมและจริยธรรมในการดำเนินชีวิต และจรรณยาบรรณในทางวิชาการ

2.  มีความรู้ ความเข้าใจกระบวนทัศน์ทางศาสนาและปรัชญาอย่างลุ่มลึก เพื่อผลิตงานวิจัยหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่

3.  มีความสามารถในการวิเคราะห์ วิจารณ์ประเด็นปัญหาทางศาสนาและปรัชญาอย่างมีเหตุผล

4.  สามารถนำความรู้ทางศาสนาและปรัชญาไปใช้ในการวิเคราะห์แก้ปัญหา ปรับตนเองให้เข้ากับสังคม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม

5.  มีทักษะในการศึกษาค้นคว้าวิจัยด้านศาสนาและปรัชญาโดยใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูลได้อย่างเหมาะสมและสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

🎓จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 2 ไม่น้อยกว่า        39   หน่วยกิต         

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน 3  วิชา      ไม่นับหน่วยกิต  

หมวดวิชาบังคับ                           15   หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือก                            12   หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์                                  12   หน่วยกิต

🎓หมวดวิชาปรับพื้นฐาน                                                                 

สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีสาขาอื่นที่มิใช่วิชาเอกหรือวิชาโททางศาสนาและปรัชญา
จะต้องเรียนวิชาปรับพื้นฐาน 3 รายวิชา (ไม่นับหน่วยกิต) โดยความเห็นชอบของกรรมการหลักสูตร
โดยที่นิสิตที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาปรับพื้นฐานที่ไม่นับหน่วยกิต
จะต้องแยกจ่ายค่าลงทะเบียนเรียนต่างหากนอกเหนือจากการเหมาจ่ายในหลักสูตรเบื้องต้น                                                  

รหัสวิชา     26554063
ชื่อวิชา       ปรัชญาเบื้องต้น
                   Introduction to Philosophy                                         
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความคิดพื้นฐานในปรัชญาตะวันตกและปรัชญาตะวันออก รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างกายกับจิต ที่มาของความรู้ อุดมคติของชีวิต และเกณฑ์ตัดสินการกระทำของมนุษย์

Fundamental Concepts in both Western and Eastern Philosophy including Relationship between Body and Mind, Sources of Knowledge, Aim of Life and Criteria of Human Actions

รหัสวิชา    26554163 
ชื่อวิชา      ศาสนาเบื้องต้น
                   Introduction to Religion                                               
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความคิดสำคัญในศาสนาแบบเทวนิยม และอเทวนิยม  พัฒนาการและความเชื่อพื้นฐานของศาสนากระแสหลัก บทบาทและความสำคัญของศาสนาในชีวิตประจำวัน

Important Concepts in Theism and Atheism, Development and Fundamental Doctrines of the Mainstream Religions, Significant Roles of Religions in Everyday Life

รหัสวิชา     26554263   
ชื่อวิชา       ตรรกศาสตร์     
                    Logic                                                        
หน่วยกิต    3(3-0-6)

การใช้เหตุผลแบบนิรนัย อุปนัย และการใช้เหตุผลในชีวิตประจำวัน

Deductive and Inductive Reasoning and Its Application in Everyday Life

🎓หมวดวิชาบังคับ                                                                         

รหัสวิชา     26555063 
ชื่อวิชา       วิเคราะห์คัมภีร์ทางศาสนา  
                    Analytical Study of Religious Scriptures                                   
หน่วยกิต    3(3-0-6)

บ่อเกิด และองค์ประกอบคัมภีร์ศาสนาด้านการตีความของนักปราชญ์ทางศาสนา เน้นศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลามและศาสนาเต๋า

Origin and Hermeneutic Elements of Religious Scriptures with special reference to Hinduism, Buddhism, Christianity, Islam and Taoism

รหัสวิชา     26556063  
ชื่อวิชา       อภิปรัชญา
                    Metaphysics                                                                                   
หน่วยกิต    3(3-0-6)

บ่อเกิดและพัฒนาการของอภิปรัชญา ความเป็นจริง ความเปลี่ยนแปลง ความเป็นสาเหตุ เจตจำนงเสรี ความสัมพันธ์ระหว่างกายกับจิต ปัญหาเรื่องเวลา มนุษย์กับหุ่นยนต์ และข้อโต้แย้งอภิปรัชญา

Origin and Development of Metaphysics, Reality, Change, Causation, Free
Will, Relation between Body and Mind, Problem of Time, Man and Machine, and Arguments against Metaphysics

รหัสวิชา     26556163
ชื่อวิชา       ญาณวิทยา  
                    Epistemology                                                                                 
หน่วยกิต    3(3-0-6)

บ่อเกิดและพัฒนาการของญาณวิทยา ความสงสัยกับความรู้ ทฤษฎีภายในนิยม ทฤษฎีภายนอกนิยม ทฤษฎี
สหนัยนิยมและทฤษฎีพื้นฐานนิยม

 Origin and Development of Epistemology, definition and categories of knowledge, Internalism, Externalism, Coherentism and Foundationalism

รหัสวิชา     26556263
ชื่อวิชา       จริยศาสตร์   
                    Ethics                                                                                             
หน่วยกิต    3(3-0-6)    
                                                               
ความหมายและความสำคัญของจริยศาสตร์ สัมพัทธนิยมทางวัฒนธรรม หน้าที่นิยม ประโยชน์นิยม จริยศาสตร์คุณธรรมและจริยศาสตร์เอื้ออาทร

Meaning and an Importance of Ethics, Cultural Relativism, Deontology, Utilitarianism, Virtue Ethics and Care Ethics

รหัสวิชา     26558063
ชื่อวิชา       การวิจัยทางศาสนาและปรัชญา
                    Research in Religion and Philosophy                                       
หน่วยกิต    3(3-0-6) 

ระเบียบวิธีวิจัยทางศาสนาและปรัชญา  การเขียนเค้าโครงการทำวิจัย และการวิพากษ์ งานวิจัย

Research Methodology in Religion and Philosophy, the Writing of Research Proposals, and the Assessment of Research

หมวดวิชาเลือก

รหัสวิชา     26555263
ชื่อวิชา       วิเคราะห์ศาสนาและปรัชญาอินเดีย
                    Analytical Study of Indian Religion and Philosophy                 
หน่วยกิต    3(3-0-6)

หลักคำสอนและแนวคิดทางศาสนาและปรัชญาของศาสนาอินเดียเกี่ยวกับ อาตมัน  พรหมัน กรรมะ โมกษะ และของนักการศาสนาและนักปรัชญาอินเดียร่วมสมัยโดยเน้นที่ สวามี วิเวกานันทะ รพินทรนาถ ฐากูร ศรีอรพินโท มหาตมะ คานธี

Principles and Concepts of Indian Religion and Philosophy; including Atman, Brahman, Kamma and Moksha, and the Thoughts of Contemporary Indian Clergies and Philosophers with the emphasis upon Swami Vivekananda, Rabindranath Tagore, Sri Aurobindo, Mahatma Gandhi

รหัสวิชา     26565163
ชื่อวิชา      ขบวนการทางศาสนาใหม่
                   New Religious Movements                                                           
หน่วยกิต   3(3-0-6)

แนวคิดสำคัญเกี่ยวกับขบวนการทางศาสนาใหม่ ในด้านประวัติ พัฒนาการ ความเชื่อ การปฏิบัติ และองค์กร
Important Concepts related to New Religious Movements including their History, Development, Beliefs, Practices and Organization

รหัสวิชา     26565363
ชื่อวิชา       ปรัชญาจีนและญี่ปุ่น    
                    Chinese and Japanese Philosophy                                               
หน่วยกิต    3(3-0-6)

หลักคำสอนและแนวคิดทางปรัชญาของจีนและของญี่ปุ่น เน้นความคิดของขงจื่อ เหล่าจื่อ เม่งจื่อ หานเฟยจื่อ เหมาเจ๋อตุง  แนวความคิดสำคัญของเซ็นและชินโต

Principles and Concepts of Chinese and Japanese Philosophy with the emphasis on Confucius, Laotzu, Mencius, Han Fei Tzu, Mao Zedong and the main concepts of Zen Buddhism and Shintoism

รหัสวิชา     26565463
ชื่อวิชา       
ศาสนายิว คริสต์และอิสลาม
                    Judaism, Christianity and Islam                                           
หน่วยกิต    3(3-0-6)

หลักคำสอนสำคัญของศาสนายิว คริสต์ และอิสลาม ผ่านคัมภีร์หลักของศาสนายิว คริสต์ และอิสลาม

Important Teachings of Judaism, Christianity and Islam based on their Scriptures

รหัสวิชา     26565563
ชื่อวิชา       สัมมนาศาสนากับการพัฒนาสังคม  
                    Seminar in Religion and Social Development                         
หน่วยกิต  3(2-2-5)

หลักคำสอน บทบาทของศาสนาและขบวนการทางศาสนาที่มีต่อการพัฒนาสังคม ในด้านวิถีชีวิต เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา และสิ่งแวดล้อม

Teachings, Role of Religion, and Religious Movement in Social Development in the aspect of Way of Life, Economy, Society, Politics, Education and Environment

รหัสวิชา     26565663
ชื่อวิชา       
ศาสนากับสันติภาพ
                    Religion and Peace                                                      
หน่วยกิต    3(3-0-6)

แนวคิดเกี่ยวกับสภาวะของมนุษย์ ความขัดแย้งและการแก้ไขความขัดแย้ง สันติภาพและการสร้างสันติภาพ โดยอ้างถึงศาสนาหลักของโลก 

The Concept of Human Existence, Conflicts and Its Solution, Peace and Its Development with special reference to the World Religions 

รหัสวิชา     26565763
ชื่อวิชา       พุทธศาสนาเถรวาท
                    Theravada Buddhism                                                                   
หน่วยกิต     3(3-0-6)

 หลักธรรมของพุทธศาสนาเถรวาท เบญจขันธ์ อริยสัจ ไตรลักษณ์ ปฏิจจสมุปบาท กรรม นิพพาน และบทบาทของพุทธศาสนาเถรวาทในสังคมปัจจุบัน

Doctrines of Theravada Buddhism; Five Aggregates, Three Characteristics, Four Noble Truth, Dependent Origination, Kamma and Nibbana and the roles of Theravada Buddhism in contemporary society

รหัสวิชา     26565863
ชื่อวิชา       พุทธศาสนามหายาน
                    Mahayana Buddhism                                                                    หน่วยกิต    3(3-0-6)

หลักธรรมของพุทธศาสนามหายาน มาธยามิกะ โยคาจาระ สัทธรรมปุณฑริกะ อวตังสกะ สุขาวดี วัชรยาน เซ็น และบทบาทของพุทธศาสนามหายานในสังคมปัจจุบัน

Doctrines of Mahayana Buddhism; Madhyamika, Yogacara, Saddharma Pundarika, Avatamsaka, Sukhavati, Vajarayana, Zen, and the Roles of Mahayana Buddhism in Contemporary Society

รหัสวิชา     26566363
ชื่อวิชา       
สุนทรียศาสตร์
                    Aesthetics
หน่วยกิต    3(
3-0-6)

แนวคิดหลักทางสุนทรียศาสตร์ ความงามกับศิลปะ ศิลปะกับศีลธรรม และศิลปะกับอารมณ์ความรู้สึกการประเมินค่าและการตีความผลงานทางศิลปะ

Fundamental Concepts in Aesthetics; Beauty and Art, Art and Morality, and Art and Emotion, Evaluation and Interpretation of Works of Art

รหัสวิชา     26566463
ชื่อวิชา       
ปรัชญาปฏิบัตินิยม
                    Pragmatism
หน่วยกิต    3(3-0-6)

แนวคิดหลักของปรัชญาปฏิบัตินิยม ความเชื่อกับความรู้ ท่าทีแบบวิทยาศาสตร์และแนวคิดผิดพลาดนิยม เจตจำนงและเสรีภาพ ความจริงและผลที่ตามมา ปฏิบัตินิยมกับศาสนา ปฏิบัตินิยมกับการศึกษา ปฏิบัตินิยมกับประชาธิปไตย

Fundamental Concepts of Pragmatism; Belief and Knowledge, Scientific Attitude and Falibilism, Will and Freedom, Truth and Consequense, Pragmatism and Religion, Pragmatism and Education, Pragmatism and Democracy

รหัสวิชา     26566563
ชื่อวิชา       ปรัชญาอัตถิภาวนิยม
 
                   Existentialism
หน่วยกิต    3(3-0-6)

แนวคิดหลักของปรัชญาอัตถิภาวนิยม สาระและความมีอยู่ ความหมาย โลก และชีวิต เสรีภาพและความรับผิดชอบ ความกังวลและความแปลกแยก ความจริงใจและการหลอกตัวเอง พระเจ้าและความไร้ความหมาย

Fundamental Concepts of Existentialism; Essence and Existence, Anxiety
and Alienation, Freedom and Responsibility, Authenticity and Bad Faith, God and meaninglessness.

รหัสวิชา     26567063
ชื่อวิชา       ปรัชญาศาสนา
                    Philosophy of Religion
หน่วยกิต    3(
3-0-6)

แนวคิดหลักของปรัชญาศาสนา การมีอยู่ของพระเจ้า ความชั่วร้าย ศรัทธากับเหตุผล ความยุติธรรม
ทางศาสนา ประสบการณ์ทางศาสนา และเป้าหมายสูงสุดทางศาสนา

Main Concepts of Philosophy of Religion; an Existence of God, Problem of Evil, Faith and Reason, Religious Justice, Religious Experiences, Ultimate Goal of Religion

รหัสวิชา    26567163
ชื่อวิชา      ปรัชญาการศึกษา  
                   Philosophy of Education
หน่วยกิต   3(
3-0-6)

แนวคิดสำคัญของปรัชญาการศึกษา แนวคิดนิรันตรนิยม สารัตถนิยม  ปฏิบัตินิยม ปฏิรูปนิยม อัตถิภาวนิยม พุทธศาสนา  ขงจื่อ กฤษณมูรติ 

Important Concepts of Philosophy of Education, Perennialism, Essentialism, Pragmatism, Constructivism, Existentialism, Buddhism, Confucious, Krishnamurti

รหัสวิชา     26567263
ชื่อวิชา      สัมมนาจริยศาสตร์สิ่งแวดล้อม     
                  Seminar in Environmental Ethics                                    
หน่วยกิต   3(2-2-5)

แนวคิดสำคัญของจริยศาสตร์สิ่งแวดล้อม แนวคิดมนุษย์เป็นศูนย์กลาง แนวคิดมนุษย์เป็นผู้อภิบาล แนวคิดชีวิตเป็นศูนย์กลาง นิเวศวิทยาเชิงลึก นิเวศวิทยาสังคม พุทธนิเวศวิทยา

 Important Concepts of Environmental Ethics; Anthropocentrism, Stewardship, Biocentrism, Deep Ecology, Social Ecology, Buddhist Ecology

รหัสวิชา    26567363
ชื่อวิชา      สัมมนาปรัชญาสังคมและการเมือง     
                  Seminar in Social and Political Philosophy                              
หน่วยกิต   3(2-2-5)

ปัญหาพื้นฐานและปัญหาร่วมสมัยในปรัชญาสังคมและการเมือง การจัดการความขัดแย้งในทางสังคมและการเมือง และการพัฒนาองค์กรทางสังคมและการเมือง เสรีภาพ ความเสมอภาค ความยุติธรรม อำนาจทางสังคมและการเมือง การครองอำนาจนำ และพื้นที่สาธารณะ

Fundamental and Contemporary Problems in Social and Political Philosophy; Conflict Management, Development of Social and Political Institutes, liberty, Equality, justice, Authority, Hegemony and Public Sphere

รหัสวิชา     26567463
ชื่อวิชา       ปรัชญาภาษา
                   Philosophy of Language                                                              
หน่วยกิต    3(
3-0-6)

ความหมายของข้อความ โครงสร้างทางวากยสัมพันธ์ ความคิดกับความหมาย ความจริง ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับโลก

                The Meaning of Statements, the Structure of Syntax, Thought and the Meaning of a Word and Truth, the Relation between Language and the World

รหัสวิชา     26567563
ชื่อวิชา       ปรัชญาวิทยาศาสตร์
                    Philosophy of Science                                                                   
หน่วยกิต    3(
3-0-6)

แนวคิดทางปรัชญาที่เป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์ วิธีการแสวงหาความรู้ การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ สำนักประสบการณ์นิยม สำนักปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะ และปรัชญาฟิสิกส์ใหม่ วิทยาศาสตร์กับสังคม  วิทยาศาสตร์กับพุทธศาสนา

Philosophical Concepts as the Foundation of Science, Methods of Knowledge, Paradigm Shift, Empiricism, Logical Positivism, Philosophy of New Physics, Science and Society, Science and Buddhism

รหัสวิชา     26567663
ชื่อวิชา       
ปรัชญาหลังสมัยใหม่
                    Postmodern Philosophy                                                     
หน่วยกิต    3(3-0-6)

แนวคิดและประเด็นปัญหาปรัชญาในยุคหลังสมัยใหม่ โครงสร้างนิยม มูลฐานนิยม วจนศูนย์นิยม วิมัตินิยม หลังโครงสร้างนิยม ต่อต้านมูลฐานนิยม การรื้อสร้าง สตรีนิยม พหุนิยมทางวัฒนธรรม

Concepts and Issues of Postmodern Philosophy; Structuralism, Faundationalism, Logocentrism, Skepticism, Postmodernism, Anti-fauondationalism, Decontruction, Feminism, Multiculturalism

🎓วิทยานิพนธ์                                     

รหัสวิชา    26568163
ชื่อวิชา      วิทยานิพนธ์ 
                    Thesis                                                                    
หน่วยกิต   12(0-0-36)

การกำหนดสิ่งที่ต้องการวิจัย การทบทวน การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์วรรณกรรม การประเมินความน่าเชื่อถือของวรรณกรรมที่ทบทวน การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย การกำหนดวิธีการวิจัย การเสนอ
เค้าโครงการวิจัย การดำเนินการวิจัย การประมวลผลและการวิเคราะห์ผล การสังเคราะห์ผล การวิจารณ์ผล การอ้างอิงผลงานของผู้อื่นและการเขียนเอกสารอ้างอิงตามระบบสากล การเขียนรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการการเขียนบทคัดย่อ การเสนอรายงานการวิจัยด้วยปากเปล่า จริยธรรมการวิจัยและจรรยาบรรณนักวิจัย จริยธรรมในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

Purpose of research; literature reviews, analysis and synthesis; confidence evaluation of reviewed literature; research aims and objectives; research methodologies; research proposals; research conducts; result processing and analysis; result synthesis; discussions; citations and international bibliographic systems; full research report compilation, academic article writing, abstract preparation; oral presentations; ethics and code of conducts of researchers; ethics in publishing academic works

ปีที่ 1  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎีปฏิบัติศึกษาด้วยตนเอง)

วิชาปรับพื้นฐาน

26554263

ตรรกศาสตร์

Logic

3(3-0-6)

26554063

ปรัชญาเบื้องต้น

Introduction to Philosophy

3(3-0-6)

วิชาบังคับ

26556263

จริยศาสตร์

Ethics

3(3-0-6)

วิชาบังคับ

26556063

อภิปรัชญา

Metaphysics

3(3-0-6)

วิชาเลือก

265XXX63

วิชาเลือก

Elective Subject

3(3-0-6)

รวม (Total)

9

ปีที่ 1  ภาคการศึกษาปลาย  (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎีปฏิบัติศึกษาด้วยตนเอง)

วิชาปรับพื้นฐาน

26554163

ศาสนาเบื้องต้น

Introduction to Religion

3(3-0-6)

วิชาบังคับ

26558063

การวิจัยทางศาสนาและปรัชญา

Research in Religion and Philosophy

3(3-0-6)

วิชาบังคับ

26556163

ญาณวิทยา

Epistemology

3(3-0-6)

วิชาบังคับ

26555063

วิเคราะห์คัมภีร์ทางศาสนา

Analytical Study of Religious Scriptures

3(3-0-6)

รวม (Total)

9

 ปีที่ 2  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

วิชาเลือก

265XXX63

วิชาเลือก

Elective Subject

3(2-2-5)

วิชาเลือก

265XXX63

วิชาเลือก

Elective Subject

3(3-0-6)

วิทยานิพนธ์

26568163

วิทยานิพนธ์

Thesis

6(0-0-18)

รวม (Total)

12

 ปีที่ 2  ภาคการศึกษาปลาย  (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

วิทยานิพนธ์

26568163

วิทยานิพนธ์

Thesis

6(0-0-18)

วิชาเลือก

265XXX63

วิชาเลือก

Elective Subject

3(3-0-6)

รวม (Total)

9

 

1.  นายบุญรอด บุญเกิด  (ประธานหลักสูตร)

     ประวัติการศึกษา

     Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India พ.ศ. 2547

     M.A. (Philosophy) Madras Christian College, India พ.ศ. 2539

     พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2537

     ตำแหน่งทางวิชาการ   ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. นายสกุล  อ้นมา 

     ประวัติการศึกษา

      Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India พ.ศ. 2545

      M.A. (Philosophy) Madras Christian College, India พ.ศ. 2537

      พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2534

      ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

3. นายชัยณรงค์ ศรีมันตะ

    ประวัติการศึกษา

    Ph.D. (Philosophy) Panjab University, India พ.ศ. 2546

    M.A. (Philosophy) University of Delhi, India พ.ศ. 2537

    พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2534

     ป.ธ.9 (บาลี) สำนักเรียนวัดทองนพคุณ กรุงเทพฯ พ.ศ. 2533

     ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

1.  นายบุญรอด บุญเกิด  (ประธานหลักสูตร)

     ประวัติการศึกษา

     Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India พ.ศ. 2547

     M.A. (Philosophy) Madras Christian College, India พ.ศ. 2539

     พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2537

     ตำแหน่งทางวิชาการ   ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. นายสกุล  อ้นมา 

     ประวัติการศึกษา

      Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India พ.ศ. 2545

      M.A. (Philosophy) Madras Christian College, India พ.ศ. 2537

      พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2534

      ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

3. นายชัยณรงค์ ศรีมันตะ

    ประวัติการศึกษา

    Ph.D. (Philosophy) Panjab University, India พ.ศ. 2546

    M.A. (Philosophy) University of Delhi, India พ.ศ. 2537

    พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2534

     ป.ธ.9 (บาลี) สำนักเรียนวัดทองนพคุณ กรุงเทพฯ พ.ศ. 2533

     ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4.  นายเทพพร  มังธานี

     ประวัติการศึกษา 

     ปร.ด. (วิจัยศิลปะและวัฒนธรรม)  มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2559

     อ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2542

     ศษ.บ. (ศึกษาศาสตร์)  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2538

     ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

5.  นายมนตรี  วิวาห์สุข

     ประวัติการศึกษา

     Ph.D. (Southeast Asian and Southwest Pacific Studies) Jawaharlal Nehru University, India พ.ศ. 2552

      M.Phil. (Southeast Asian and Southwest Pacific Studies) Jawaharlal Nehru University, India พ.ศ. 2549

      M.A. (Philosophy) (First Class) Madras Christian College, India พ.ศ. 2545

      พธ.บ. (ปรัชญา) (เกียรตินิยมอันดับ 1) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2543

      ตำแหน่งทางวิชาการ     รองศาสตราจารย์

6.  นายธนิต  โตอดิเทพย์

     ประวัติการศึกษา 

     ปร.ด. (ไทยศึกษา) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2556

     ร.ม. (เศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2551

     ศศ.บ. (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจระหว่างประเทศ) สถาบันราชภัฏพระนคร พ.ศ. 2547

     ตำแหน่งทางวิชาการ     ผู้ช่วยศาสตราจารย์

🎓ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร Learning Outcome (LO)

1.  คุณธรรม จริยธรรม

      (1)  มีวินัย ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

      (2) เคารพในสิทธิเสรีภาพ ตลอดจนศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์

      (3) เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม

      (4) มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และในการประกอบอาชีพ

       (5) มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

2.  ความรู้

     (1) มีความรู้ ความเข้าใจแนวคิดที่สำคัญทางศาสนาและปรัชญาอย่างชัดเจน สามารถนำไปใช้ในการค้นคว้าทางวิชาการหรือในการดำรงชีวิตได้

      (2) สามารถบูรณาการความรู้ทางศาสนาและปรัชญาเพื่อต่อยอดองค์ความรู้จนนำไปประยุกต์ใช้ในมิติต่างๆ ได้

     (3) รู้คุณค่าและผลกระทบของผลงานวิชาการต่อตนเอง วงวิชาการ และสภาพแวดล้อมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ

     (4) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการในด้านศาสนาและปรัชญา

3.  ทักษะทางปัญญา

      (1) สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตุผลบนพื้นฐานของวิธีคิดทางศาสนาและปรัชญา

       (2) สามารถวางแผนและดำเนินโครงการวิจัยทางศาสนาและปรัชญาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

       (3) สามารถหาข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องในทางวิชาการ โดยใช้ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา ตลอดจนเทคนิคในการวิจัย หรือสามารถสร้างองค์ความรู้หรือมุมมองใหม่ได้

4.  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

      (1) สามารถวิเคราะห์ แก้ปัญหา และวางแผนในการปฏิบัติงานต่างๆ ได้

      (2) สามารถปรับตนเองให้เข้ากับสังคม และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลและองค์กรที่หลากหลาย

      (3) เคารพกติกาของสังคม รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม

      (4) สามารถนำความรู้ทางศาสนาและปรัชญาไปใช้เมื่อต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลได้อย่างสร้างสรรค์

5.  ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ

      (1) สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ หรือหลักตรรกศาสตร์ในการทำวิจัย

       (2) สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และการนำเสนอ ทั้งในวงวิชาการและวิชาชีพ

       (3) มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อสืบค้นข้อมูลและเผยแพร่องค์ความรู้ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือบทความทางวิชาการที่สำคัญ

แบบเต็มเวลา

100,000 บาท 

แบ่งจ่าย 4 ภาคเรียน ดังนี้

ภาคเรียนที่ 1    25,000  บาท

ภาคเรียนที่ 2    25,000  บาท

ภาคเรียนที่ 3    25,000  บาท

ภาคเรียนที่ 4    25,000  บาท

แบบไม่เต็มเวลา

120,000 บาท 

แบ่งจ่าย 4 ภาคเรียน ๆ ดังนี้

ภาคเรียนที่ 1    30,000  บาท

ภาคเรียนที่ 2    30,000  บาท

ภาคเรียนที่ 3    30,000  บาท

ภาคเรียนที่ 4    30,000  บาท

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565

🎓ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย:      หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา

ภาษาอังกฤษ: Master of Arts Program in Thai Studies

🎓ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อปริญญาภาษาไทย:     ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ไทยศึกษา)

ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: Master of Arts (Thai Studies)

อักษรย่อภาษาไทย:        ศศ.ม. (ไทยศึกษา)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ:    M.A. (Thai Studies)

🎓จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 2 ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต

🎓อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. นักวิชาการ นักวิจัย ครู อาจารย์ ในสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน และนักวิชาการ
อิสระด้านไทยศึกษา
2. ข้าราชการ พนักงาน ผู้บริหารของภาครัฐหรือเอกชนที่ดำเนินการเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทย
3. ผู้ประกอบการด้านอื่น ๆ ที่ประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับไทยศึกษามาประกอบอาชีพ

🎓ปรัชญา

ผลิตมหาบัณฑิตที่สามารถบูรณาการองค์ความรู้ทางไทยศึกษาเพื่อการพัฒนาพื้นที่อย่างสร้างสรรค์ ยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม อนุรักษ์และพัฒนาวิถีชีวิตที่เหมาะสมกับบริบทของสังคมไทยและสังคมโลก

🎓ความสำคัญ

ในโลกยุคไร้พรมแดนที่ผู้คนสามารถสื่อสารถึงกันได้อย่างไม่มีข้อจำกัดเชิงพื้นที่  การเข้าใจความเป็นไทยเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในการรักษาและพัฒนาวัฒนธรรมไทยให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลก การประกอบสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้กลายเป็นความ ท้าทายสู่ความเข้าใจสถานการณ์ บริบททางสังคมที่ลึกซึ้ง ทำให้เกิดการพัฒนาการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความเข้าใจและการยอมรับทางวัฒนธรรมทำให้การดำเนินชีวิตทางสังคมมีความสงบและสันติ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา จึงมุ่งผลิตบัณฑิตที่สามารถแสวงหาความรู้เกี่ยวกับความเป็นไทยด้วยวิธีการวิจัย เคารพความหลากหลายทางวัฒนธรรม อนุรักษ์และพัฒนาวิถีชีวิตไทยที่เหมาะสมกับภูมิภาค สังคม และโลกได้อย่างสร้างสรรค์

🎓วัตถุประสงค์

เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแล้ว บัณฑิตจะมีสมรรถนะ ดังนี้ 

1. สามารถอธิบายปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมทางวิชาการ และการวินิจฉัยปรากฏการณ์เชิงพื้นที่ด้วยความยุติธรรม

2. สามารถอภิปรายทฤษฎีและการปฏิบัติในการจัดการบริบททางสังคมแบบใหม่ บนพื้นฐานของการอธิบายความเข้าใจในองค์ความรู้ของไทยศึกษา

3. สามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเพื่อการวิจัยและการประกอบอาชีพ เพื่อการพัฒนาแนวความคิดใหม่ด้วยการบูรณาการและการสร้างองค์ความรู้ใหม่ไทยศึกษา

4. สามารถตัดสินใจวางแผนในการเพิ่มประสิทธิภาพ และมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ของตนเองและความรับผิดชอบต่อสังคม

5. สามารถคัดกรองข้อมูลทางสถิติและข้อมูลเชิงคุณภาพเพื่อนำมาใช้ในการศึกษาค้นคว้า สรุปและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นทางสังคมไทยได้ และสามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

🎓จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 2 ไม่น้อยกว่า        36   หน่วยกิต         

หมวดวิชาบังคับ                                                 12  หน่วยกิต
วิชาสัมมนาวิทยานิพนธ์                                    (ไม่นับหน่วยกิต)
วิชาการศึกษาประเด็นเฉพาะทางไทยศึกษา   (ไม่นับหน่วยกิต)
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า                             12  หน่วยกิต
หมวดวิทยานิพนธ์                                             12   หน่วยกิต

🎓หมวดวิชาบังคับ                                                                         

รหัสวิชา    26951165
ชื่อวิชา      ระเบียบวิธีวิจัยทางไทยศึกษา
                  Research Methodology in Thai Study            
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ปรัชญา แนวคิด ทฤษฎี และระเบียบวิธีวิจัยในศาสตร์สาขาต่างๆ วิธีการวิจัยแบบสหวิทยาการ การฝึกปฏิบัติการเขียนเค้าโครงการวิจัยและการวางแผนการวิจัย

Philosophy; thoughts; theories and related research methodologies; research integration methods; practicing writing research Proposals and planning research

รหัสวิชา    26953165
ชื่อวิชา      ไทยศึกษาบูรณาการ
                  Seminar on Integrated Thai Studies               
หน่วยกิต  3(3-0-6)

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับไทยศึกษาและไทยภูมิภาคศึกษา วิธีการศึกษาและเนื้อหาด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง ภาษา ศิลปะ ภูมิปัญญาวัฒนธรรม ศาสนาและประเพณี การประยุกต์วิธีวิทยาในไทยศึกษา

Analysis and synthesis of methodologies and content of studies related
to Thai studies and Thai regional studies; methodology and contents of social; economy; politics; language; arts; wisdom; culture; religion and tradition; applied methodology in Thai studies; new knowledge in Thainess

รหัสวิชา    26956165
ชื่อวิชา      ไทยตะวันออกศึกษา  
                   Eastern Thai Studies                                          
หน่วยกิต   3(3-0-6)

พัฒนาการของภาคตะวันออกด้านกายภาพ ประชากร การตั้งถิ่นฐาน การประกอบอาชีพ สังคม วัฒนธรรมสังคมในภาคตะวันออก การเปลี่ยนแปลงของชุมชนด้านการเมือง เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมจากส่วนกลางต่อภูมิภาคตะวันออก บทบาทของภูมิภาคตะวันออกกับการพัฒนาสังคม

Development of the eastern part of Thailand: physical; Environment; population; settlement; occupation; culture; society; culture society in eastern region; changing of community from the politic economic and cultural; role of
eastern region and social development

รหัสวิชา    26951265
ชื่อวิชา      สัมมนาการพัฒนาเค้าโครงวิทยานิพนธ์
                  Seminar on Development of Thesis Proposal  
                               
หน่วยกิต  3(2-2-5)
                                                               
การแลกเปลี่ยนทัศนะ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการเขียนวิทยานิพนธ์ ฝึกปฏิบัติการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์

Exchange of attitude and useful information for composing thesis;
practice writing thesis proposal

🎓 วิชาสัมมนาวิทยานิพนธ์

รหัสวิชา     26961165
ชื่อวิชา       สัมมนาวิทยานิพนธ์
                   Seminar in the Thesis               
หน่วยกิต    3(2-2-5)

หลักการสังเคราะห์งานวิจัย การพัฒนาหัวข้อปัญหาวิจัยจากผลการสังเคราะห์งานวิจัย การค้นหาและการประเมินวรรณกรรมที่สนับสนุนปัญหาวิจัย การบรรยายผลการวิเคราะห์ทางสถิติและการเชื่อมโยงกับปัญหาวิจัย ฝึกการเขียนบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษสำหรับตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

Principles of research synthesis; development of research topics from the results of meta analysis; search and evaluation of research literature related to the research problem; practice writing articles in Thai and English for publication in journals

🎓วิชาการศึกษาประเด็นเฉพาะทางไทยศึกษา

รหัสวิชา    26961265
ชื่อวิชา      ประเด็นเฉพาะทางไทยศึกษา
                  Special Topic in Thai Studies              
หน่วยกิต   3(2-2-5)

ศึกษาประเด็นเฉพาะทางด้านสังคมศาสตร์ ศึกษาประเด็นเฉพาะทางด้านมนุษยศาสตร์ ศึกษาประเด็นเฉพาะทางด้านวัฒนธรรม ศึกษาประเด็นเฉพาะทางด้านศาสนาและปรัชญา ศึกษาประเด็นเฉพาะในสถานการณ์ร่วมสมัย

Special topic in social sciences; special topic in humanities, special topic in culture, special topic in religious and philosophy, special topic in contemporary

🎓หมวดวิชาเลือก

รหัสวิชา    26963165
ชื่อวิชา      แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์สำหรับไทยศึกษา
                  Concepts and Theories of Social Sciences and Humanities for Thai Studyy                 
หน่วยกิต    3(3-0-6)

แนวคิดและทฤษฎีสมัยใหม่ แนวคิดปฏิฐานนิยม แนวคิดสัจจะนิยม แนวคิดโครงสร้างนิยมและหน้าที่ แนวคิดปรัชญาวัตถุนิยมของมาร์ก ความคิดของกลุ่มมาร์กซิสซ์ใหม่และหลังมาร์กซิสซ์ ความคิดของโพสต์โมเดิร์น แนวคิดหลังอาณานิคม การศึกษาของผู้ถูกกดทับ

Concepts and modernity theories; positivism concept, realism concept, structure–agency concept, historical materialism of Karl Marx’s, neo–marxist and post–marxist thoughts, post–modern, post–colonialism, subaltern

รหัสวิชา    26964165
ชื่อวิชา      ความคิดกับการพัฒนาการทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองของไทย
                  Thoughts and Economic and Socio-Political Development of Thailand                                    
หน่วยกิต   3(3-0-6)

พัฒนาการทางความคิดเศรษฐศาสตร์การเมือง พัฒนาการทางเศรษฐกิจการเมืองไทย สังคมของการเป็นรัฐชาติ รัฐพันลึกกับการเมืองไทย การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ความเป็นสมัยใหม่ในสังคมไทย เสรีนิยมใหม่ในสังคมไทย

Evolution of political economy thoughts; evolution of political economy in Thailand; social of nation state; Thailand’s deep state; changing of society and cultural; modernity in Thailand; neo–liberalism in Thai society

รหัสวิชา     26963265
ชื่อวิชา       สังคมวิทยาเมืองกับไทยศึกษา   
                   Urban Sociology and Thai Study                    
หน่วยกิต    3(3-0-6)

แนวคิดการพัฒนาเมือง แนวคิดเกี่ยวกับเมือง ความเปลี่ยนแปลงของชนบทสู่เมือง ทุนนิยมกับความยุติธรรมเมือง ความสัมพันธ์ทางสังคมของเมือง ผู้คนกับเมือง การศึกษาเมืองในประเทศไทย

Urban development concepts, urban concepts, changing of the rural to urban, just city and capitalism, social relations of urban, people in the city, urban study of Thailand

รหัสวิชา    26952165
ชื่อวิชา      ภาษา วรรณกรรมและกลุ่มชาติพันธุ์ในสังคมไทย

                  Language, Literature and Ethnic in Thai Society                            
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความสำคัญของภาษา วรรณกรรมและกลุ่มชาติพันธุ์กับสังคมไทย ความหลากหลายของ
ภาษาและกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวรรณกรรมกับไทยศึกษา บทบาทของภาษาและวรรณกรรมกับสังคมและวัฒนธรรมไทย วรรณกรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคต่าง ๆ ของไทย การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้านภาษาวรรณกรรมและกลุ่มชาติพันธุ์

Importance of language, literature and ethnic groups and Thai society, diversity of languages and ethnic groups in Thailand, relationship between language and literature and Thai studies, role of language and literature in Thai society and culture, literature of ethnic groups in regions of Thailand, research to create new knowledge on language, literature and ethnic groups

รหัสวิชา     26966165
ชื่อวิชา       พื้นที่ทางวัฒนธรรมในไทยศึกษา
                   Cultural Space in Thai Study                
หน่วยกิต    3(3-0-6)

แนวคิดวัฒนธรรมศึกษาเชิงพื้นที่ มโนทัศน์เรื่องพื้นที่ทางวัฒนธรรม พื้นที่ทางกายภาพ พื้นที่ทางสังคม พื้นที่เชิงสัมพัทธ์ พื้นที่กับเพศสภาพและอัตลักษณ์ พื้นที่ในฐานะเป็นสิ่งประดิษฐ์ทางวัฒนธรรม พื้นที่กับชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรม การสร้างพื้นที่ปฏิบัติการทางวัฒนธรรม การวิจัยเชิงพื้นที่ในไทยศึกษา

Concept of cultural studies, concept of cultural space, physical space, social space, relative space, space and gender and identity, space as a cultural artifact ,space and social and cultural life, creating a cultural practice area, area research in Thai studies

รหัสวิชา    26965165
ชื่อวิชา      จริยศาสตร์ศึกษาในไทยศึกษา

                  Ethical Study in Thai Studies                             
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ความหมายและความสำคัญของจริยศาสตร์ ปัญหาสำคัญในจริยศาสตร์ ทฤษฎีจริยศาสตร์ อภิจริยศาสตร์  จริยศาสตร์เชิงพรรณนา จริยศาสตร์ในเชิงบรรทัดฐาน จริยศาสตร์ประยุกต์  ปัญหาจริยศาสตร์ในสังคมไทย วิธีการศึกษาคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทย

Definition and importance of ethics, important problems in ethics, ethical theory, metaethics, descriptive ethics, normative ethics, applied ethics, ethical problems in Thai society, methods for studying virtues and morals in Thai society

รหัสวิชา  26965265
ชื่อวิชา    ศิลปะกับศาสนาในวัฒนธรรมไทย 
                Arts and Religious in Thai Culture                 
หน่วยกิต  3(3-0-6)

ความหมายและความสำคัญของศิลปะกับศาสนา แนวคิดด้านศิลปะกับศาสนา  พัฒนาการของศิลปะกับศาสนาในวัฒนธรรมไทย ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับศาสนาในวัฒนธรรมไทย บทบาทของศิลปะกับศาสนาในวัฒนธรรมไทย ประเด็นปัจจุบันของศิลปะกับศาสนาในสังคมไทย

Definition and importance of art and religion, concept of art and religion, history of art and religion in Thai culture, relationship between art and religion in Thai culture, role of art and religion in Thai culture, current issues of art and religion in Thai society

รหัสวิชา      26965365
ชื่อวิชา        พระพุทธศาสนาและจิตภาวนาแบบไทยร่วมสมัย
                    Contemporary Thai Buddhism and Meditation                               
หน่วยกิต    3(3-0-6)

พระพุทธศาสนากับ ความเชื่อท้องถิ่น สังคม วัฒนธรรม และรัฐไทย พระพุทธศาสนาแบบไทย กระบวนการใหม่ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย ความเข้าใจและการปฏิบัติธรรมของคนไทย หลักการและวิธีปฏิบัติจิตภาวนาของพระพุทธศาสนาแบบไทย พระพุทธศาสนาแบบไทยกับประชาคมโลก

Buddhism and local faith, society, culture and Thai state; Thai Buddhism and Buddhist new movement in Thai society; Thai understanding and practicing Dhamma; principle and method of Thai Buddhist meditation; Thai Buddhism and the world community.

รหัสวิชา     26966265
ชื่อวิชา       ปริทัศน์วัฒนธรรมไทยในกระแสโลกาเทศาภิวัตน์

                   Review of Thai Culture in Glocalization
หน่วยกิต    3(
3-0-6)

แนวคิดและทฤษฎีสำหรับปริทัศน์วัฒนธรรม อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และพหุลักษณ์ทางวัฒนธรรมไทย โลกาภิวัตน์ การข้ามพรมแดนรัฐชาติ และท้องถิ่นนิยมกับวัฒนธรรมไทย การเปรียบเทียบทางวัฒนธรรมไทยเทศ

Concept and theory for cultural review; Thai cultural character, identity and plurality; Thai cultural globalization, transnationalism and localism; comparative Thai and foreign culture.

รหัสวิชา     26966365
ชื่อวิชา       นวัตกรรมและการจัดการทางวัฒนธรรมไทย

                   Thai Cultural Innovation and Management
หน่วยกิต    3(3-0-6)

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับนวัตกรรมและการจัดการ นวัตกรรมทางวัฒนธรรมไทย แหล่งและฐานข้อมูลทางวัฒนธรรม การจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม สินค้าและการประกอบการทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมสำหรับสังคมสูงวัย สังคมดิจิทัล และความปกติใหม่

Concept and theory on innovation and management; Thai cultural innovation; cultural resource and database; cultural management; cultural product and enterprise; culture for aging and digital society, and new normal

รหัสวิชา     26966465
ชื่อวิชา       แนวคิดทางวัฒนธรรมและนิยามเชิงปฏิบัติ

                   Cultural Concept and Operational Definition
หน่วยกิต    3(3-0-6)

วัฒนธรรมศึกษา วัฒนธรรมนิยม วัฒนธรรมอุตสาหกรรม วัฒนธรรมมวลชน วัฒนธรรมประชานิยม วัฒนธรรมข้ามพรมแดน นิเวศวิทยาวัฒนธรรม มานุษยวิทยาวัฒนธรรม สัมพัทธนิยมทางวัฒนธรรม การแพร่กระจายทางวัฒนธรรม การจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม มานุษยวิทยาชีววัฒนธรรม พหุวัฒนธรรมนิยม วิวัฒนาการทางวัฒนธรรมนิยม การผสมผสานทางวัฒนธรรม การผนวกรวมทางวัฒนธรรม การข้ามพรมแดนรัฐชาติทางวัฒนธรรม การทำลายล้างทางวัฒนธรรม วัตถุนิยมทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมพื้นบ้าน วัฒนธรรมดิจิทัล

Cultural studies, culturalism, industrial culture, mass culture, popular culture, cultural transnationalism, cultural ecology, cultural anthropology, cultural relativism, cultural diffusion, cultural resource management, biocultural anthropology, multiculturalism, cultural pluralism, cultural evolutionism, acculturation, transculturation, cultural transnationalism, ethnocide, cultural materialism, folk culture, digital culture

รหัสวิชา     26966565
ชื่อวิชา       สัมมนาวัฒนธรรมไทยจีนเปรียบเทียบ
                    Seminar on comparative Thai and chinese culture
หน่วยกิต    3(
2-2-5)

เปรียบเทียบความหลากหลายทางวัฒนธรรมในไทยจีน ลักษณะร่วม ลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรมในสังคมไทยจีน, การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม

Compare of the cultural diversity in Thai – Chinese, common character and cpecific character in culture, living together of people’s in multicultural societies

🎓หมวดวิทยานิพนธ์                                     

รหัสวิชา    26969965
ชื่อวิชา      วิทยานิพนธ์ 
                   Thesis                                                                    
หน่วยกิต   12(0-0-36)

การกำหนดสิ่งที่ต้องการวิจัย การทบทวน การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์วรรณกรรม
การประเมินความน่าเชื่อถือของวรรณกรรมที่ทบทวน การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย การกำหนดวิธีการวิจัย การเสนอเค้าโครงการวิจัย การดำเนินการวิจัย การประมวลผลและการวิเคราะห์ผลการสังเคราะห์ผล การวิจารณ์ผล การอ้างอิงผลงานของผู้อื่นและการเขียนเอกสารอ้างอิงตามระบบสากล การเขียนรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการ การเขียนบทคัดย่อ การเสนอรายงานการวิจัยด้วยปากเปล่า จริยธรรมการวิจัยและจรรยาบรรณนักวิจัย จริยธรรมในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

Purpose of research; literature reviews, analysis and synthesis; confidence evaluation of reviewed literature; research aims and objectives; research methodologies; research proposals; research conducts; result processing and analysis; result synthesis; discussions; citations and international bibliographic systems; full research report compilation; research article authoring; abstract preparation; oral presentations; ethics and code of conducts of researchers; ethics in publishing academic works

ปีที่ 1  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

วิชาบังคับ

26953165

ไทยศึกษาบูรณาการ
Integrated Thai Studies

3(3-0-6)

วิชาเลือก

26951165

ระเบียบวิธีวิจัยทางไทยศึกษา
Research Methodology in Thai Studies

3(2-2-5)

วิชาเลือก269xxx65

วิชาเลือก
Elective Subject

3

รวม (Total)

9

ปีที่ 2  ภาคการศึกษาต้น (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

วิชาบังคับ

26956165

ไทยตะวันออกศึกษา
Eastern Thai Studies

3 (3-0-6)

วิชาบังคับ

26951265

สัมมนาการพัฒนาเค้าโครงวิทยานิพนธ์
Seminar on Development of Thesis Proposal

3 (2-2-5)

วิชาเลือก

269xxx65

วิชาเลือก
Elective Subject

3

รวม (Total)

9

ปีที่ 2  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

วิชาเลือก

269xxx65

วิชาเลือก
Elective Subject

3

วิชาเลือก

269xxx65

วิชาเลือก
Elective Subject

3

วิชาบังคับ

26961265

ประเด็นเฉพาะทางไทยศึกษา
Special Topic in Thai Studies

3 (2-2-5)

ไม่นับหน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

26969965

วิทยานิพนธ์
Thesis

6

รวม (Total)

12

ปีที่ 2  ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

วิชาบังคับ

26961165

สัมมนาวิทยานิพนธ์
Seminar in the Thesis

3 (2-2-5)
ไม่นับหน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

26969965

วิทยานิพนธ์
Thesis

6

รวม (Total)

6

1.  นายธนิต โตอดิเทพย์  (ประธานหลักสูตร)

     ประวัติการศึกษา

     ปร.ด. (ไทยศึกษา) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2556

      ร.ม. (เศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2551

      ศศ.บ. (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจระหว่างประเทศ) สถาบันราชภัฏพระนคร พ.ศ. 2547

     ตำแหน่งทางวิชาการ   ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. นายมนตรี วิวาห์สุข

     ประวัติการศึกษา

     Ph.D. (Southeast Asian and Southwest Pacific Studies) Jawaharlal Nehru University, India พ.ศ. 2552

     M.Phil. (Southeast Asian and Southwest Pacific Studies) Jawaharlal Nehru University, India พ.ศ. 2549

     M.A. (Philosophy) Madras Christian College, India พ.ศ. 2545

    พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2543

    ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์

3. นายเทพพร มังธานี

    ประวัติการศึกษา

    ปร.ด. (วิจัยศิลปะและวัฒนธรรม) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2559

    อ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2542

    ศษ.บ. (ประถมศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2538

    ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

1.  นายธนิต โตอดิเทพย์  (ประธานหลักสูตร)

     ประวัติการศึกษา

     ปร.ด. (ไทยศึกษา) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2556

      ร.ม. (เศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2551

      ศศ.บ. (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจระหว่างประเทศ) สถาบันราชภัฏพระนคร พ.ศ. 2547

     ตำแหน่งทางวิชาการ   ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. นายมนตรี วิวาห์สุข

     ประวัติการศึกษา

     Ph.D. (Southeast Asian and Southwest Pacific Studies) Jawaharlal Nehru University, India พ.ศ. 2552

     M.Phil. (Southeast Asian and Southwest Pacific Studies) Jawaharlal Nehru University, India พ.ศ. 2549

     M.A. (Philosophy) Madras Christian College, India พ.ศ. 2545

    พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2543

    ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์

3. นายเทพพร มังธานี

    ประวัติการศึกษา

    ปร.ด. (วิจัยศิลปะและวัฒนธรรม) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2559

    อ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2542

    ศษ.บ. (ประถมศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2538

    ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4.  นายบุญรอด บุญเกิด  

     ประวัติการศึกษา

     Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India พ.ศ. 2547

     M.A. (Philosophy) Madras Christian College, India พ.ศ. 2539

     พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2537

     ตำแหน่งทางวิชาการ   ผู้ช่วยศาสตราจารย์

5. นายศศิวุฑฒิ์ วงษ์มณฑา

     ประวัติการศึกษา

     Ph.D. (Applied Economics), University of Minnesota, USA พ.ศ. 2555

     ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์ปริมาณวิเคราะห์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2547

     ศ.บ. (เศรษฐศาสตร์ปริมาณวิเคราะห์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2545

     ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์

6. นางสุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์

    ประวัติการศึกษา

    นศ.ด. (นิเทศศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2552

     นศ.ม. (นิเทศศาสตรพัฒนาการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541

     นศ.บ. (การประชาสัมพันธ์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2537 

     ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์

7. นายกังวาฬ ฟองแก้ว

     ประวัติการศึกษา 

    ปร.ด. (สังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2558

    ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ. 2550

    ศศ.บ. (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2544

    ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

8. นายทรงยศ บัวเผื่อน

     ประวัติการศึกษา

    Ph.D. (Mass Communication) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553

    นศ.ม. (นิเทศศาสตรพัฒนาการ) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต พ.ศ. 2545

    นศ.บ. (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต พ.ศ. 2542

    ตำแหน่งทางวิชาการ     รองศาสตราจารย์

9.  นางสาวขจิตา ศรีพุ่ม

     ประวัติการศึกษา 

     ปร.ด. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2557

     ศศ.ม. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2548

     ศศ.บ. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2545

    ตำแหน่งทางวิชาการ     ผู้ช่วยศาสตราจารย์

10. นายธีรเดช มานะกุล

     ประวัติการศึกษา 

     ปร.ด. (สารสนเทศศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2565

     ศศ.ม. (การจัดการสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2559

     ศศ.บ. (ภาษาฝรั่งเศส) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2551

     ตำแหน่งทางวิชาการ     อาจารย์

🎓ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร Learning Outcome (LO)

       1. คุณธรรม จริยธรรม

            PLO 1.1 สามารถเข้าใจและจัดการปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรมที่มีความสลับซับซ้อนเชิงวิชาการ

            PLO 1.2 สามารถวินิจฉัยปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยความยุติธรรม

     2. ความรู้

           PLO 2.1 มีความรู้ความเข้าใจทฤษฎีอย่างถ่องแท้ในองค์ความรู้ด้านไทยศึกษาการประยุกต์ใช้หลักการ ทฤษฎีเพื่อการวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพ

           PLO 2.2 สามารถนำองค์ความรู้ด้านไทยศึกษามาปฏิบัติในการจัดการบริบทแบบใหม่

    3. ทักษะทางปัญญา

          PLO 3.1 สามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีเพื่อการวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพ

          PLO 3.2 สามารถพัฒนาแนวความคิดด้วยการบูรณาการกับองค์ความรู้ใหม่ไทยศึกษา

     4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

           PLO 4.1 สามารถตัดสินใจวางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพตนเองและองค์กร

           PLO 4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ของตนเองและความรับผิดชอบต่อสังคม

      5. ทักษะทางการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

           PLO 5.1 สามารถคัดกรองข้อมูลทางสถิติเพื่อนำมาใช้ในการศึกษาค้นคว้า สรุปและเสนอแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นทางสังคมไทยได้

           PLO 5.2 สามารถสื่อสารแนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยสู่สาธารณะได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แบบเต็มเวลา

120,000 บาท 

แบ่งจ่าย 4 ภาคเรียน ๆ ดังนี้

ภาคเรียนที่ 1    30,000  บาท

ภาคเรียนที่ 2    30,000  บาท

ภาคเรียนที่ 3    30,000  บาท

ภาคเรียนที่ 4    30,000  บาท

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565

🎓ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย:    หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา

ภาษาอังกฤษ: Doctor of Philosophy Program in Thai Studies

🎓ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อปริญญาภาษาไทย:    ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ไทยศึกษา)

ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: Doctor of Philosophy (Thai Studies)

อักษรย่อภาษาไทย:      ปร.ด. (ไทยศึกษา)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ:    Ph.D.  (Thai Studies)

🎓จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

แบบ 2.1 เรียนรายวิชาและทำดุษฎีนิพนธ์  ไม่น้อยกว่า        48       หน่วยกิต

🎓อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. นักวิชาการ นักวิจัย ครู อาจารย์ ในสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน และนักวิชาการ
อิสระด้านไทยศึกษา
2. ข้าราชการ พนักงาน ผู้บริหารของภาครัฐหรือเอกชนที่ดำเนินการเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทย
3. ผู้ประกอบการด้านอื่น ๆ ที่ประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับไทยศึกษามาประกอบอาชีพ

🎓ปรัชญา

ผลิตดุษฎีบัณฑิตที่สามารถต่อยอดและสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางไทยศึกษา เพื่อนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาที่ซับซ้อนในพื้นที่ของสังคมไทย ตลอดจนอนุรักษ์และพัฒนาวิถีชีวิตไทยในบริบทสังคมโลก บนพื้นฐานของความหลากหลายทางวัฒนธรรม

🎓ความสำคัญ

ในโลกยุคไร้พรมแดนที่ผู้คนสามารถสื่อสารถึงกันได้อย่างไม่มีข้อจำกัดเชิงพื้นที่  การเข้าใจความเป็นไทยเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในการรักษาและพัฒนาวัฒนธรรมไทยให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลก การสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้านไทยศึกษาได้กลายเป็นความท้าทายสู่ความเข้าใจปรากฏการณ์ บริบททางสังคมที่ลึกซึ้ง ซึ่งจะทำให้เกิดการพัฒนา การประยุกต์ใช้องค์ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความเข้าใจและการยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรมจะทำให้การดำเนินชีวิตทางสังคมมีความสงบและสันติ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา จึงมุ่งผลิตบัณฑิตที่สามารถสร้างสรรค์องค์ความรู้สู่การพัฒนานวัตกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับความเป็นไทยด้วยวิธีการวิจัย อนุรักษ์และพัฒนาวิถีชีวิตที่เหมาะสมกับภูมิภาคทางสังคมไทย และสังคมโลกได้อย่างสร้างสรรค์ บนพื้นฐานการยอมรับความหลายหลายทางวัฒนธรรม

🎓วัตถุประสงค์

เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแล้ว ดุษฎีบัณฑิตจะมีสมรรถนะ ดังนี้ 

  1. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรมที่มีความสลับซับซ้อน และการใช้ดุลพินิจจัดการปัญหาด้วยความยุติธรรม ด้วยหลักฐานและหลักการที่มีเหตุผล
  2. สามารถอภิปรายความรู้ทางทฤษฎีและเทคนิคการแสวงหาความรู้ นำไปวิเคราะห์ประเด็นปัญหาสำคัญ และสามารถบูรณาการแนวคิดสู่การวิจัย เพื่อต่อยอดและสร้างองค์ความรู้ใหม่อย่างสร้างสรรค์
  3. สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้านไทยศึกษา ด้วยเทคนิคการวิจัยแบบสหวิทยาการ เพื่อพัฒนาสังคมไทยได้อย่างเหมาะสม
  4. สามารถตัดสินใจวางแผนเพื่อพัฒนาองค์กรและสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ แสดงทักษะการวิเคราะห์ทางวิชาการ เพื่อแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนสูงในสังคมไทย
  5. สามารถคัดกรอง วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลทั้งทางสถิติและเชิงคุณภาพเพื่อนำมาใช้ในการศึกษาค้นคว้า เพื่อการต่อยอดและสร้างองค์ความรู้ ตลอดจนการเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา และสามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

🎓จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร

แบบ 2.1 เรียนรายวิชาและทำดุษฎีนิพนธ์  ไม่น้อยกว่า        48       หน่วยกิต  

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน                                    (2 รายวิชา โดยไม่นับหน่วยกิต)

หมวดวิชาบังคับ                                             9 หน่วยกิต

หมวดวิชาสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1-3                  (ไม่นับหน่วยกิต)

หมวดวิชาประเด็นเฉพาะทางไทยศึกษา        (ไม่นับหน่วยกิต)

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า                           3 หน่วยกิต

หมวดดุษฎีนิพนธ์                                           36 หน่วยกิต

🎓หมวดวิชาปรับพื้นฐาน                                                                   

รหัสวิชา     26972165
ชื่อวิชา       ไทยศึกษาบูรณาการ
                    Integrated Thai Studies    
หน่วยกิต    3(3-0-6)

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับไทยศึกษาและไทยภูมิภาคศึกษา วิธีการศึกษาและเนื้อหาด้านสังคม เศรษฐกิจ  การเมืองการปกครอง  ภาษา ศิลปะ  ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ศาสนาและประเพณี  การประยุกต์วิธีวิทยาในไทยศึกษา องค์ความรู้ใหม่ในไทยศึกษา

Analysis and synthesis of methodologies and content of studies related to Thai studies and Thai regional studies; methodology and contents of social; economy; politics; language; arts; wisdom; culture; religion and tradition; applied methodology in Thai studies; new knowledge in Thai studies

รหัสวิชา      26975165
ชื่อวิชา        ไทยตะวันออกศึกษา
                     Eastern Thai Studies              
หน่วยกิต    3(3-0-6)

พัฒนาการของภาคตะวันออกด้านกายภาพ ประชากร การตั้งถิ่นฐาน การประกอบอาชีพ วัฒนธรรมสังคมในภาคตะวันออก การเปลี่ยนแปลงของชุมชนด้านการเมือง เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมจากส่วนกลางต่อภูมิภาคตะวันออก บทบาทของภูมิภาคตะวันออกกับการพัฒนาสังคม องค์ความรู้ใหม่ในไทยศึกษาตะวันออก

Development of the eastern part of Thailand; physical environment,population, settlement, occupation, culture society in eastern region society; changing of community from the politic economic and cultural; role of eastern region and social development; new knowledge in eastern Thai studies

🎓หมวดวิชาบังคับ

รหัสวิชา       26971165
ชื่อวิชา        ปฏิบัติการวิจัยไทยศึกษา
                     Research Operations in Thai studies                                     
หน่วยกิต     3(2-2-5)

ปฏิบัติการวิจัยไทยศึกษาตามขั้นตอนและกระบวนการวิจัยทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพตั้งแต่เทคนิคการเลือกประเด็น  วิธีการกำหนดวัตถุประสงค์  และขอบเขตของการวิจัยการสำรวจวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการกำหนดกรอบการศึกษา การตั้งสมมุติฐานการออกแบบการวิจัย การเลือกกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือ และวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการและเทคนิคในการวิเคราะห์ข้อมูล  การสังเคราะห์ข้อมูล  การเขียนรายงานและการนำเสนอผลการวิจัย

Qualitative and quantitative researches in Thai Studies following theirprocedures beginning from selecting studied topic; setting objectives, scoping the study; reviewing related literature and research; framing the study; hypothesizing; designing; selecting samples, selecting and making tool; collecting data; using appropriate techniques for data analyses; synthesizing data; writing research paper; and presenting result of the study      

รหัสวิชา      26972265
ชื่อวิชา        สัมมนาพรมแดนองค์ความรู้ไทยศึกษา
                     Seminar on the Scope of Thai Studies Knowledge  
                   
หน่วยกิต    3(2-2-5)
   

สถานภาพของพรมแดนองค์ความรู้ด้านไทยศึกษา  การศึกษาองค์ความรู้ด้านไทยศึกษาของนักวิชาการสาขาต่างๆ ชุดความรู้ด้านไทยศึกษาจากงานเขียนของนักวิชาการสาขาทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ การสร้างแนวคิดและวิธีการเรียนรู้ใหม่ด้านไทยศึกษา

Status of knowledge boundaries in Thai studies; study of knowledge in Thai studies of academics in various fields;  set of knowledge on Thai studies from the writings of academics in the fields of social sciences and humanities; creation of new concepts and learning methods in Thai studies

รหัสวิชา      26971265
ชื่อวิชา        สัมมนาการพัฒนาเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์
                    Seminar on Development of Dissertation Proposal           
หน่วยกิต    3(2-2-5)

การแลกเปลี่ยนทัศนะ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการเขียนดุษฎีนิพนธ์และฝึกปฏิบัติการเขียนเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์

Exchange of attitude and useful information for composing dissertation and practice writing dissertation proposal

🎓หมวดวิชาสัมมนาดุษฎีนิพนธ์

รหัสวิชา       26981365
ชื่อวิชา        สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1
                    Seminar in the Dissertation 1                   
หน่วยกิต     3(2-2-5)

หลักการสังเคราะห์งานวิจัย การพัฒนาหัวข้อปัญหาวิจัยจากผลการสังเคราะห์งานวิจัย การค้นหาและการประเมินวรรณกรรมที่สนับสนุนปัญหาวิจัย การบรรยายผลการวิเคราะห์ทางสถิติและการเชื่อมโยงกับปัญหาวิจัย

Principles of research synthesis; development of research topics from the results of meta analysis; search and evaluation of research literature related to the research problem

รหัสวิชา       26981465
ชื่อวิชา         สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2
                      Seminar in the Dissertation 2                   
หน่วยกิต      3(2-2-5)

การกำหนดกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีและพัฒนาเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัยสำหรับหัวข้อเรื่องที่สนใจ การทบทวนและวิเคราะห์วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์ขั้นตอนการวิจัยสำหรับหัวข้องานวิจัย

Identification of theoretical model and development of conceptual framework for research topics of interest; review of related research literature; defining steps and procedures for research topics

รหัสวิชา        26981565
ชื่อวิชา          สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3    
                      Seminar in the Dissertation 3               
หน่วยกิต      3(2-2-5)

อภิปรายความถูกต้องของเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ การอภิปรายถกเถียงเรื่องความเหมาะสมของแบบวิจัยที่เลือกใช้อย่างละเอียดลึกซึ้ง ฝึกการเขียนบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษสำหรับตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ นำเสนอเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ของตนต่อที่ประชุมสัมมนา

Discussion of the appropriateness of one’s dissertation draft; in-depth discussion of the appropriateness of the research design; practice writing articles in Thai and English for publication in journals and presentation of the dissertation draft in the seminar

🎓วิชาการศึกษาประเด็นเฉพาะทางไทยศึกษา

รหัสวิชา      26982365
ชื่อวิชา       ประเด็นเฉพาะทางไทยศึกษา
                    Special Topic in Thai Studies         
หน่วยกิต    3(2-2-5)

ประเด็นเฉพาะทางด้านสังคมศาสตร์ ศึกษาประเด็นเฉพาะทางด้านมนุษยศาสตร์ ประเด็นเฉพาะทางด้านวัฒนธรรม ประเด็นเฉพาะทางด้านศาสนาและปรัชญา ประเด็นเฉพาะในสถานการณ์ร่วมสมัย

Special topic in social sciences, special topic in humanities, special topic in culture, special topic in religious and philosophy, special topic in contemporary situation

🎓หมวดวิชาเลือก

รหัสวิชา     26975265
ชื่อวิชา       สัมมนานวัตกรรมการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางไทยศึกษา 
                    Seminar on Research Innovation for Building New Knowledge of Thai Studies                 
หน่วยกิต    3(2-2-5)

การประยุกต์แนวคิด กระบวนการ และเทคโนโลยีใหม่สำหรับการวิจัยไทยศึกษา ประเด็นการวิจัยร่วมสมัย การสร้างข้อสรุปเชิงมโนทัศน์ การตั้งประเด็นปัญหา จริยธรรมการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ และสังเคราะห์เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางไทยศึกษา

New application, process and technology for Thai studies research; contemporary research issue; conceptualization, problematization, research ethic, data collection, analysis and synthesis for building up the new knowledge in Thai studies

รหัสวิชา     26974165
ชื่อวิชา      สัมมนาผู้นำทางจิตตปัญญาชาวไทย
                   Seminar on Leading Thai Contemplative Agent                          
หน่วยกิต   3(2-2-5)

แนวคิดและทฤษฎีด้านจิตตปัญญาศึกษา นักบวชและฆราวาสผู้นำทางจิตปัญญาชาวไทย สุนทรียวิปัสสนาสนทนา หลักการ วิธีการ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบต่อสังคมและวัฒนธรรมไทยและโลก ข้อวิพากษ์วิจารณ์ ความพลิกผลัน การประยุกต์ และความท้าทายในปัจจุบัน แนวโน้มในอนาคต

Concept and theory of contemplative education; leading Thai contemplative monk and layman; insight dialogue, principle, method, output, outcome and impact to Thai and the world society; critical issue, disruption, application and challenge in the present, and future trend

รหัสวิชา      26974265
ชื่อวิชา      สัมมนาโลกทัศน์ไทยจากวรรณกรรมท้องถิ่นความเชื่อ ศาสนาและปรัชญา
                  Seminar on Thai Worldviews in Local Literature, Beliefs, Religion and Philosophy
หน่วยกิต    3(2-2-5)

ความหมายและความสำคัญของโลกทัศน์ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับโลกทัศน์  โลกทัศน์จากวรรณกรรมท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคต่าง ๆ ของไทย  โลกทัศน์จากคติความเชื่อ โลกทัศน์จากศาสนาและปรัชญา การรับและปรับเปลี่ยนโลกทัศน์ของคนไทย พลวัตของโลกทัศน์ในสังคมไทย

Definition and importance of worldview, concepts related to worldview; worldviews in local literature of ethnic groups in regions of Thailand; worldviews in beliefs, worldview in religion and philosophy, accepting and changing the worldview of Thai people; dynamics of the worldview in Thai society

รหัสวิชา      26975365
ชื่อวิชา        สัมมนาภูมิปัญญาในศิลปะ ประเพณี และวิถีชีวิตไทย

                    Seminar on wisdom in arts, traditions and Thai way of life    
หน่วยกิต   3(2-2-5)

ความหมายและคุณค่าของภูมิปัญญา แนวคิดเกี่ยวกับภูมิปัญญา  ภูมิปัญญาไทยในศิลปะแขนงต่าง ๆ ภูมิปัญญาไทยในประเพณีและพิธีกรรม ภูมิปัญญาในวิถีชีวิตไทย การอนุรักษ์และพัฒนามูลค่าภูมิปัญญาท้องถิ่น  การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้านภูมิปัญญาไทย

Definition and value of wisdom, concept of wisdom, Thai wisdom in various arts, Thai wisdom in traditions and rituals, wisdom in Thai way of life, conservation and value development of local wisdom, research to create a new knowledge on Thai wisdom

รหัสวิชา       26974365
ชื่อวิชา        สัมมนาปัญหาจริยศาสตร์ในไทยศึกษา
                      Seminar on ethical problems in Thai Studies                 
หน่วยกิต     3(2-2-5)

ความหมายและความสำคัญของปัญหาจริยศาสตร์ในไทยศึกษา ทฤษฎีทางจริยปรัชญา การอ้างเหตุผลทางจริยธรรม ปัญหาเกี่ยวกับสถานภาพของคุณค่าทางศีลธรรม ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่มีคุณค่าสูงสุดในชีวิต ปัญหาเกี่ยวกับชีวิตที่ดี ปัญหาเกี่ยวกับเกณฑ์ตัดสินจริยธรรม ปัญหาจริยธรรมในสังคมไทย   การประยุกต์ทฤษฎีทางจริยศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาจริยธรรมในสังคมไทย 

Definition and importance of ethical problems in Thai Studies, ethical theory, ethical argument, problems of moral values status, problems of what is most valuable in life, good life problem, problem of ethical judgment, ethical problems in Thai society, application of ethical theory to decode ethical problems in Thai society

รหัสวิชา     26976165
ชื่อวิชา       สัมมนาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ สังคม การเมืองไทย

                    Seminar on economic history, society, and politics in Thailand                      
หน่วยกิต    3(2-2-5)

แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม เศรษฐกิจสังคมไทยก่อนการปฏิรูประบบราชการเศรษฐกิจสังคมไทยหลังปฏิรูประบบราชการ สังคมการเมืองไทยใน 2475 เศรษฐกิจสังคมไทยหลัง 2490การเมืองไทยกับการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย การเมืองไทยกับการขยายตัวของชนชั้นกลาง เศรษฐกิจไทยในสังคมร่วมสมัย

Concept of socio–economic development, socio–economic of Thailand before bureaucratic reform, socio–economic of Thailand after bureaucratic reform, socio– politic in 1932, socio–economic after 1947, political of Thailand and Fights to democratic; political of Thailand and middle class, contemporary of Thailand economic    

รหัสวิชา     26972365
ชื่อวิชา      สัมมนาสังคมวิทยา มานุษยวิทยาในไทยศึกษา
                   Seminar on Sociology and Anthropology in Thai Studies          
หน่วยกิต   3(2-2-5)

เศรษฐกิจและวัฒนธรรมชุมชนไทย ชุมชนจินตนาการ ความเปลี่ยนแปลงของชุมชนไทย ขบวนการเคลื่อนไหวของภาคประชาชน การศึกษากลุ่มคนชายขอบในสังคมไทย การต่อสู้ของผู้อ่อนแอ แนวคิดร่วมสมัย

Economic and cultural of Thai community; imagine community, community changing, people’s movement, marginal study in Thailand society; against of the weak, contemporary concept       

รหัสวิชา      26975465
ชื่อวิชา        สัมมนาความพลิกผันทางวัฒนธรรมไทยและโลก
                    Seminar on Disruption of Thai and Global Culture                
หน่วยกิต    3(2-2-5)

แนวคิดว่าด้วยความพลิกผันทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี ผู้สร้างความพลิกผันในบริบทท้องถิ่นและบริบทโลก วัฒนธรรมมวลชนและวัฒนธรรมประชานิยมในบริบทที่พลิกผัน วัฒนธรรมต่อต้านและความพลิกผันในวัฒนธรรมไทยและโลก วิกฤต โอกาส และความท้าทายทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ

Concept on cultural and technological disruption; the disrupter of local and global context; mass and popular culture in the disruptive context; counterculture and disruption of Thai and world culture; crisis, opportunity and challenge for humanity

🎓หมวดวิชาดุษฎีนิพนธ์                                     

รหัสวิชา      26989965
ชื่อวิชา       ดุษฎีนิพนธ์
                   Dissertation                                                              
หน่วยกิต   36(0-0-108)

การกำหนดสิ่งที่ต้องการวิจัย การทบทวน การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์วรรณกรรม การประเมินความน่าเชื่อถือของวรรณกรรมที่ทบทวน การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย การกำหนดวิธีการวิจัย การเสนอเค้าโครงการวิจัย การดำเนินการวิจัย การประมวลผลและการวิเคราะห์ผล การสังเคราะห์ผล การวิจารณ์ผล การอ้างอิงผลงานของผู้อื่นและการเขียนเอกสารอ้างอิงตามระบบสากล การเขียนรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการ การเขียนบทคัดย่อ การเสนอรายงานการวิจัยด้วยปากเปล่า จริยธรรมการวิจัยและจรรยาบรรณนักวิจัย จริยธรรมในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

Purpose of research; literature reviews, analysis and synthesis; confidence evaluation of reviewed literature; research aims and objectives; research methodologies;  research proposals; research conducts; result processing and analysis; result synthesis; discussions; citations and international bibliographic systems; full research report compilation; research article authoring; abstract preparation; oral presentations; ethics and code of conducts of researchers; ethics in publishing academic works

ปีที่ 1  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

วิชาบังคับ

26972265

สัมมนาพรมแดนองค์ความรู้ไทยศึกษาSeminar on the Scope of Thai Studies Knowledge

3 (2-2-5)

วิชาปรับพื้นฐาน

26972165

ไทยศึกษาบูรณาการ      
Integrated Thai Studies

3 (3-0-6)
(ไม่นับหน่วยกิต)

26975165

ไทยตะวันออกศึกษา                
Eastern Thai Studies

3 (3-0-6)
(ไม่นับหน่วยกิต)

รวม (Total)

3

 

ปีที่ 1  ภาคการศึกษาปลาย  (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

วิชาบังคับ

26971165

ปฏิบัติการวิจัยไทยศึกษา
Research Operations in Thai studies

3 (2-2-5)

 

 

26971265

สัมมนาการพัฒนาเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์
Seminar on Development of Dissertation Proposal

3 (2-2-5)

วิชาเลือก

269xxx65

วิชาเลือก
Elective Subject

3

รวม (Total)

9

ปีที่ 2  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

ประเด็นเฉพาะทางไทยศึกษา

26982365

ประเด็นเฉพาะทางไทยศึกษา   
Special Topic in Thai Studies

3(2-2-5)
(ไม่นับหน่วยกิต)

ดุษฎีนิพนธ์

26989965

ดุษฎีนิพนธ์
Dissertation

9

รวม (Total)

9

 

ปีที่ 2  ภาคการศึกษาปลาย  (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

สัมมนาดุษฎีนิพนธ์

26981365

สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1     
Seminar in the Dissertation 1

3 (2-2-5)
(ไม่นับหน่วยกิต)

ดุษฎีนิพนธ์

26989965

ดุษฎีนิพนธ์
Dissertation

9

รวม (Total)

9

 

ปีที่ 3  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

สัมมนาดุษฎีนิพนธ์

26981465

สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2     
Seminar in the Dissertation 2

3 (2-2-5)
(ไม่นับหน่วยกิต)

ดุษฎีนิพนธ์

26989965

ดุษฎีนิพนธ์
Dissertation

9

รวม (Total)

9

 

ปีที่ 3  ภาคการศึกษาปลาย  (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

สัมมนาดุษฎีนิพนธ์

26981565

สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3     
Seminar in the Dissertation 3

3 (2-2-5)
(ไม่นับหน่วยกิต)

ดุษฎีนิพนธ์

26989965

ดุษฎีนิพนธ์
Dissertation

9

รวม (Total)

9

1.  นายเทพพร มังธานี (ประธานหลักสูตร)

    ประวัติการศึกษา

    ปร.ด. (วิจัยศิลปะและวัฒนธรรม) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2559

    อ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2542

    ศษ.บ. (ประถมศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2538

    ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. นายมนตรี วิวาห์สุข

     ประวัติการศึกษา

     Ph.D. (Southeast Asian and Southwest Pacific Studies) Jawaharlal Nehru University, India พ.ศ. 2552

     M.Phil. (Southeast Asian and Southwest Pacific Studies) Jawaharlal Nehru University, India พ.ศ. 2549

     M.A. (Philosophy) Madras Christian College, India พ.ศ. 2545

    พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2543

    ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์

3. นายธนิต โตอดิเทพย์  

     ประวัติการศึกษา

     ปร.ด. (ไทยศึกษา) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2556

      ร.ม. (เศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2551

      ศศ.บ. (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจระหว่างประเทศ) สถาบันราชภัฏพระนคร พ.ศ. 2547

     ตำแหน่งทางวิชาการ   ผู้ช่วยศาสตราจารย์

 

1.  นายเทพพร มังธานี (ประธานหลักสูตร)

    ประวัติการศึกษา

    ปร.ด. (วิจัยศิลปะและวัฒนธรรม) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2559

    อ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2542

    ศษ.บ. (ประถมศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2538

    ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. นายมนตรี วิวาห์สุข

     ประวัติการศึกษา

     Ph.D. (Southeast Asian and Southwest Pacific Studies) Jawaharlal Nehru University, India พ.ศ. 2552

     M.Phil. (Southeast Asian and Southwest Pacific Studies) Jawaharlal Nehru University, India พ.ศ. 2549

     M.A. (Philosophy) Madras Christian College, India พ.ศ. 2545

    พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2543

    ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์

3. นายธนิต โตอดิเทพย์  

     ประวัติการศึกษา

     ปร.ด. (ไทยศึกษา) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2556

      ร.ม. (เศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2551

      ศศ.บ. (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจระหว่างประเทศ) สถาบันราชภัฏพระนคร พ.ศ. 2547

     ตำแหน่งทางวิชาการ   ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4.  นายบุญรอด บุญเกิด  

     ประวัติการศึกษา

     Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India พ.ศ. 2547

     M.A. (Philosophy) Madras Christian College, India พ.ศ. 2539

     พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2537

     ตำแหน่งทางวิชาการ   ผู้ช่วยศาสตราจารย์

5. นายกังวาฬ ฟองแก้ว

     ประวัติการศึกษา 

     ปร.ด. (สังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2558

     ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ. 2550

     ศศ.บ. (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2544

     ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

6. นายศศิวุฑฒิ์ วงษ์มณฑา

     ประวัติการศึกษา

     Ph.D. (Applied Economics), University of Minnesota, USA พ.ศ. 2555

     ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์ปริมาณวิเคราะห์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2547

     ศ.บ. (เศรษฐศาสตร์ปริมาณวิเคราะห์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2545

     ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์

7. นางสุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์

    ประวัติการศึกษา

    นศ.ด. (นิเทศศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2552

     นศ.ม. (นิเทศศาสตรพัฒนาการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541

     นศ.บ. (การประชาสัมพันธ์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2537 

     ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์

8. นายทรงยศ บัวเผื่อน

     ประวัติการศึกษา

    Ph.D. (Mass Communication) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553

    นศ.ม. (นิเทศศาสตรพัฒนาการ) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต พ.ศ. 2545

    นศ.บ. (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต พ.ศ. 2542

    ตำแหน่งทางวิชาการ     รองศาสตราจารย์

9.  นางสาวขจิตา ศรีพุ่ม

     ประวัติการศึกษา 

     ปร.ด. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2557

     ศศ.ม. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2548

     ศศ.บ. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2545

    ตำแหน่งทางวิชาการ     ผู้ช่วยศาสตราจารย์

10. นายธีรเดช มานะกุล

     ประวัติการศึกษา 

     ปร.ด. (สารสนเทศศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2565

     ศศ.ม. (การจัดการสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2559

     ศศ.บ. (ภาษาฝรั่งเศส) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2551

     ตำแหน่งทางวิชาการ     อาจารย์

🎓ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร Learning Outcome (LO)

       1. คุณธรรม จริยธรรม

         1.1 สามารถเข้าใจ วิเคราะห์และสังเคราะห์ เพื่อจัดการปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรมที่มีความสลับซับซ้อน

          1.2 สามารถวินิจฉัยปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยความยุติธรรมตามหลักเหตุผลทางจริยธรรม

     2. ความรู้

         2.1 สามารถอธิบายพรมแดนองค์ความรู้ด้านไทยศึกษาและอภิปรายเชิงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องได้อย่างชัดเจน และมีเทคนิคในการแสวงหาความรู้ตลอดชีวิต
         2.2 สามารถนำองค์ความรู้ด้านไทยศึกษามาบูรณาการ และปฏิบัติในบริบทใหม่ได้อย่างเหมาะสม

    3. ทักษะทางปัญญา 
         3.1 สามารถสร้างนวัตกรรมทางสังคมและวัฒนธรรม บนฐานขององค์ความรู้ด้านไทยศึกษา ด้วยทักษะการวิจัยเชิงสหวิทยาการ

         3.2 สามารถสร้างแนวความคิดใหม่ โดยการบูรณาการกับองค์ความรู้ไทยศึกษา

     4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

           4.1 สามารถตัดสินใจวางแผนเพื่อพัฒนาองค์กรและสังคมให้สอลดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

          4.2 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่องและมีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม

      5. ทักษะทางการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

           5.1 สามารถคัดกรอง วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลทั้งทางสถิติและเชิงคุณภาพเพื่อนำมาใช้ในการศึกษาค้นคว้า เพื่อการต่อยอดและสร้างองค์ความรู้ ตลอดจนการเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

          5.2 สามารถสื่อสารองค์ความรู้ แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยสู่สาธารณะทั้งในระดับชาติและนานาชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แบบเต็มเวลา

405,000 บาท 

แบ่งจ่าย 4 ภาคเรียน ๆ ดังนี้

ภาคเรียนที่ 1    67,500  บาท

ภาคเรียนที่ 2    67,500  บาท

ภาคเรียนที่ 3    67,500  บาท

ภาคเรียนที่ 4    67,500  บาท

ภาคเรียนที่ 5    67,500  บาท

ภาคเรียนที่ 6    67,500  บาท

Visits:4512
Today: 17
Total Visitors : 79110