หลักสูตรปริญญาตรี

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564

🎓ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย:        หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา
ภาษาอังกฤษ:    Bachelor of Arts Program  in Religion and  Philosophy

🎓ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อปริญญาภาษาไทย:     ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศาสนาและปรัชญา)
ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: Bachelor of Arts  (Religion and Philosophy)
อักษรย่อภาษาไทย:        ศศ.บ. (ศาสนาและปรัชญา)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ:    B.A.  (Religion and Philosophy)

🎓 จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 131 หน่วยกิต

🎓อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

ผู้สำเร็จการศึกษา สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลาย เช่น ครู อาจารย์ นักวิชาการด้านศาสนาและปรัชญา พนักงานพัฒนาทรัพยากรบุคคลพนักงานฝ่ายบริหารจัดการ ผู้ประกอบการอิสระ หรือประกอบอาชีพในหน่วยงาน ที่รับรองวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขา

🎓ปรัชญา

สร้างบัณฑิตให้มีองค์ความรู้ด้านศาสนาและปรัชญา มีคุณธรรม จริยธรรม รู้จักคิดวิเคราะห์แบบมีวิจารณญาณ
สร้างนวัตกรรมโดยเชื่อมโยง และบูรณาการศาสตร์แห่งศาสนาและปรัชญาเข้ากับศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ส่งเสริมให้มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต สื่อสารกับผู้อื่นได้ดี
มีชีวิตที่ดีงามและมีความสุข

🎓ความสำคัญ

สังคมยุคปัจจุบัน ประสบปัญหาวิกฤตทางศีลธรรมและจริยธรรม หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มีความต้องการบุคคลากรที่สามารถแสดงออกทางศีลธรรม จริยธรรมอย่างเข้มแข็ง มีความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล สามารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ในการทำงานได้อย่างเหมาะสม ภาควิชาศาสนาและปรัชญาตระหนักถึงความสำคัญข้อนี้ จึงมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะดังกล่าวออกสู่สังคมให้มากขึ้น

🎓วัตถุประสงค์

เมื่อสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรแล้ว บัณฑิตสาขาวิชาศาสนาและปรัชญา จะมีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถและทักษะ ดังนี้

1.  มีความซื่อสัตย์ มีระเบียบวินัย เคารพกฎระเบียบขององค์กรและสังคม สามารถแสดงพฤติกรรมที่รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น มีจิตสาธารณะ มีจรรยาบรรณทางวิชาการ ร่วมแก้ปัญหาสังคม และต่อต้านการทุจริต

2.  สามารถอธิบายองค์ความรู้ด้านศาสนาและปรัชญาได้ มีความรู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลงของสังคม และโลก

3.  สามารถประยุกต์ วิเคราะห์ และบูรณาการองค์ความรู้ด้านศาสนาและปรัชญากับศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างสรรค์ผลงานด้านศาสนาและปรัชญาที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม สามารถแก้ปัญหาวิกฤตทางศีลธรรม จริยธรรมได้

4.  มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในพหุวัฒนธรรม ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ
ได้อย่างเหมาะสม รับฟังความคิดเห็นและทัศนคติที่แตกต่าง เป็นผู้นำและสมาชิกที่ดีของสังคม

5.  มีความสามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ค้นคว้าข้อมูลหลากหลายอย่างรู้เท่าทัน พัฒนาตนเอง มีส่วนร่วมในการสร้างผลงานด้านนวัตกรรม และสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

🎓โครงสร้างวิชาเอกศาสนาและปรัชญา  ไม่น้อยกว่า 131 หน่วยกิต

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า    30   หน่วยกิต

2) หมวดวิชาเฉพาะ                                95   หน่วยกิต

    2.1)  วิชาเอก                                     80   หน่วยกิต

             2.1.1)  วิชาเอกบังคับ                 45   หน่วยกิต

             2.1.2)  วิชาเอกเลือก                  29   หน่วยกิต

             2.1.3)  วิชาการบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน  6  หน่วยกิต         

    2.2)  วิชาโท                                      15   หน่วยกิต

3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า          6    หน่วยกิต 

🎓 โครงสร้างวิชาโทศาสนาและปรัชญา  ไม่น้อยกว่า 15   หน่วยกิต

1)  วิชาโทบังคับ                              9       หน่วยกิต                                            

2) วิชาโทเลือก                                6       หน่วยกิต

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                                       

รหัสวิชา    89510064      
ชื่อวิชา      ภูมิบูรพา
                  Wisdom of BUU                                                          

หน่วยกิต   3(2-2-5)

รากเหง้าของมหาวิทยาลัยบูรพา ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคตะวันออกของประเทศไทย ค่านิยมของมหาวิทยาลัยบูรพา ความเป็นนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา รักษ์ทะเล การสร้าง การมีส่วนร่วม และการสืบสานจากรุ่นสู่รุ่น เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

Root of Burapha University (BUU); local wisdom of Eastern Thailand; BUU core values, being BUU student; marine conservation; contributing, participating, and conveying from generation-to-generation; Eastern Economic Corridor (EEC); Sustainable Development Goals (SDGs)

รหัสวิชา    89510264      
ชื่อวิชา      ความสุขและคุณค่าชีวิต
                   Happiness and Values of Life                           

หน่วยกิต   2(1-2-3)

ความหมายของชีวิต การรู้จักและเข้าใจตน การปรับปรุงและพัฒนาตน การตั้งเป้าหมายและวางแผนชีวิต การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขและมีคุณค่า การปรับตัวแบบองค์รวมในสังคมที่กำลังเปลี่ยนแปลง

Meanings of life; self-perceptions and understanding; self-improvement and development; goal-setting and life planning; living a valuable and happy life; holistic self -adjustment in a changing society

รหัสวิชา    89510364      
ชื่อวิชา      การบริหารสุขภาวะทางกาย
                   Physical Well-being Management           
หน่วยกิต   2(1-2-3)

แนวคิดและวิธีปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี การยศาสตร์ การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร ยารักษาโรค การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์เสี่ยง การวางแผนชีวิตครอบครัว

Concepts and guidelines for maintaining in good physical and mental health; good shape; exercise; food consumption; medicine; behavior and environmental risks preventions; family life planning

รหัสวิชา    89510664      
ชื่อวิชา      เสพศิลป์สร้างสุข
                   Appreciation of Arts for a Happy Life

หน่วยกิต   2(1-2-3)

คุณค่าของศิลปะด้านทัศนศิลป์ การออกแบบ ดนตรีและศิลปะการแสดงต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ สุนทรียะของการเสพงานศิลปะด้านทัศนศิลป์ การออกแบบ ดนตรีและศิลปะการแสดง หลักการใช้ศิลปะเพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมการมีสุขภาวะทางกายและใจที่ดี การฝึกปฏิบัติทางศิลปะแขนงต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะทางกายและใจ

Value of visual arts, design, music, and performing arts to human living; visual arts appreciation; design, music, and performing arts; artistic principles for problems solving and physical and mental well-being promotion; practices in various arts for physical and mental well-being promotion

รหัสวิชา   89520064
ชื่อวิชา     พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคมไทย อาเซียน และโลก 
                  Citizenship and Responsibility towards Society of Thailand, ASEAN, and the World                                        
หน่วยกิต   2(1-2-3)

ปลูกจิตสำนึก บทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบของการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในฐานะ พลเมืองของไทย อาเซียน และโลก กรณีศึกษา การรับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงในประเด็นที่ท้าทายกรอบความเชื่อเดิมเปิดโลกทัศน์ที่กว้างขึ้น

Raising awareness; roles, and responsibilities as Thai, ASEAN, and the world citizen; case study; recognition of the challenging paradigms shift; open broader

รหัสวิชา    89520364      
ชื่อวิชา      กิจกรรมสร้างสรรค์ 
                  Creative Activities                                                     

หน่วยกิต   2(1-2-3)

ทฤษฎีและองค์ประกอบความคิดสร้างสรรค์ แนวทางการพัฒนาและส่งเสริม การจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ฝึกปฏิบัติและจัดโครงการที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ในองค์กร

Theories and components of creative thinking; guidelines for developing and promoting, organizing various activities; practical work and projects that promote creative thinking in the organization

รหัสวิชา    89520464
ชื่อวิชา      ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
                   English for Communication

หน่วยกิต   3(2-2-5)

ฝึกทักษะ ฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ ศัพท์และโครงสร้างภาษา กลยุทธ์ในการเรียนภาษาอังกฤษ เรียนรู้วัฒนธรรมโลก เพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน

Practicing skills in listening, speaking, reading, and writing English; vocabulary and language structure; English language learning strategies; global culture; communication in daily life

รหัสวิชา     89520664
ชื่อวิชา       ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ชีวิตจริง
                   Experiential English                          
หน่วยกิต    3(2-2-5)

ฝึกทักษะภาษาอังกฤษผ่านกิจกรรม ฝึกกลวิธีการเรียนภาษาอังกฤษ ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และอภิปราย เรียนรู้พหุวัฒนธรรม

Practicing English language skills through activities; practicing English language learning strategies; critical thinking skills and discussion in multi-cultural contexts

รหัสวิชา     89520864
ชื่อวิชา       ทักษะภาษาไทยเพื่อการอาชีพในสังคมร่วมสมัย 
                    Thai Language Skills for Careers in Contemporary Society         
หน่วยกิต    2(1-2-3)

ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชีพ การฟังและจดบันทึกรายงานการประชุม  การสนทนาเชิงธุรกิจ การเขียนโต้ตอบทางอีเมล์ การเขียนโครงการและเอกสารเชิงหลักการ การออกแบบแบบสอบถาม และการเขียนใบสมัครออนไลน์

Thai language skills for careers; listening and note-taking for meetings; business conversations; e-mail correspondence; projects and conceptual framework writing; questionnaire design; online job applications writing

รหัสวิชา     89530064      
ชื่อวิชา      โอกาสและความท้าทายในการทำงานในโลกอนาคต  
                   Opportunities and Challenges for Future Careers                                     
หน่วยกิต   2(2-0-4)

นโยบายประเทศไทย 4.0 เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โมเดลการบูรณาการเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว ทักษะแรงงานที่จำเป็นในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย การประเมินสมรรถนะตนเอง ตลาดแรงงานในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

Thailand 4.0 policy; Eastern Economic Corridor, potential core technologies and industry clusters driving economic growth; integrated economic model towards sustainable development, bioeconomy, circular economy and green economy; workforce skills required for targeted industry clusters; self-competency assessment; labor market in Eastern Economic Corridor

รหัสวิชา    89530164
ชื่อวิชา      ทักษะดิจิทัล
                   Digital Skill
หน่วยกิต   2(2-0-4)

การสร้างและการเผยแพร่วิดีโอ รูปภาพ เพลง ข้อความ และข่าวสารผ่านช่องทางออนไลน์ การนำเทคโนโลยีดิจิทัลไปใช้ในชีวิตประจำวัน ธุรกิจ และสังคม เทคโนโลยีอุบัติใหม่

Creation and dissemination of online-videos, images, music, messages, and news; digital application in daily life, business and society; emerging technologies.

รหัสวิชา    89531164
ชื่อวิชา      กฎหมายสำหรับคนทำงานและธุรกิจ
                   Law for Worker and Business                                        
หน่วยกิต   2(2-0-4)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักกฎหมายที่สำคัญสำหรับคนทำงาน  กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ แรงงาน จัดตั้งบริษัท ทรัพย์สินทางปัญญา ภาษีอากร กฎหมายล้มละลาย กฎหมายเกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริต กรณีศึกษา

Basic knowledge of laws; principles of labor laws; civil and commercial laws;
labor laws; company-established laws; intellectual property laws; tax laws; bankruptcy laws; anti-corruption laws; case study

รหัสวิชา    89539764
ชื่อวิชา      การเป็นผู้ประกอบการในศตวรรษที่ 21
                  Entrepreneurship in the 21st Century
หน่วยกิต  3(0-0-9)

แนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ ทักษะการเป็นผู้ประกอบการในศตวรรษที่ 21 อย่างมีจริยธรรมตามกฎหมายในการจัดตั้งบริษัทและกฎหมายธุรกิจทั่วไป รวมถึงการเขียนแผนธุรกิจ

Concepts of entrepreneurship; ethics and entrepreneurship skills in 21st century according to laws for a company establishment and general business laws; able to accomplish the business plan

2) หมวดวิชาเฉพาะ

วิชาเอกบังคับ

รหัสวิชา     26512164
ชื่อวิชา      ศาสนาเบื้องต้น
                   Introduction to Religion
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย บ่อเกิด ประเภทของศาสนา ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนา ระบบศีลธรรม ความเชื่อของศาสนาที่ยังดำรงอยู่ในสังคม บทบาทและความสำคัญของศาสนาในชีวิตประจำวัน

Meaning, origin and types of religions, relations among religions, moral standards and religious beliefs in a society, role and importance of religions in everyday life

รหัสวิชา    26512264
ชื่อวิชา     ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม
                  Christianity and Islam
หน่วยกิต  3(3-0-6)

กำเนิด พัฒนาการ หลักคำสอนสำคัญ อิทธิพล ความสัมพันธ์ของศาสนาคริสต์และอิสลามในโลกปัจจุบัน

Origin, development, important doctrines, influence relation between Christianity and Islam in the contemporary world

รหัสวิชา   26512364
ชื่อวิชา     พุทธศาสนาเถรวาท
                 Theravada Buddhism
หน่วยกิต  3(3-0-6)

กำเนิดและพัฒนาการของพุทธศาสนาเถรวาท วิเคราะห์หลักคำสอนสำคัญ อริยสัจ 4 ไตรลักษณ์ ปฎิจจสมุปบาท กรรม และนิพพาน

Origin and development of Theravada Buddhism, an analysis on main doctrines; the Four Noble Truths, the Three Characteristics, the Dependent Origination, Karma and Nibbana

รหัสวิชา    26512464
ชื่อวิชา     พุทธศาสนามหายาน
                  Mahayana Buddhism
หน่วยกิต  3(3-0-6)

กำเนิด พัฒนาการ หลักคำสอน นิกายสำคัญของพุทธศาสนามหายานของอินเดีย จีน อิทธิพลของพุทธศาสนามหายานที่มีต่อสังคมปัจจุบัน

Origin, development, doctrines and main schools of Mahayana Buddhism in India and China, influence of Mahayana Buddhism on contemporary society

รหัสวิชา    26513164
ชื่อวิชา      ปรัชญาเบื้องต้น
                  Introduction to Philosophy
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขต สาขาปรัชญา และวิธีการทางปรัชญา ปัญหาพื้นฐานทางปรัชญา แนวคิดของนักปรัชญา

Meaning, scope, branches and methods of philosophy, fundamental problems and philosopher’s thoughts

รหัสวิชา    26513264
ชื่อวิชา      จริยศาสตร์
                   Ethics
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ศึกษาวิเคราะห์ทฤษฎีสำคัญทางจริยศาสตร์ที่เกี่ยวกับความดี คุณธรรม ความยุติธรรม คุณค่าของชีวิต การประยุกต์จริยศาสตร์ในชีวิตประจำวัน

An Analytical study of important ethical theories, concerning goodness, virtue, justice value of life, an application of ethics to everyday life

รหัสวิชา     26523164
รายวิชา      อภิปรัชญา
                    Metaphysics
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขตของอภิปรัชญา แนวคิดหลักของอภิปรัชญาตะวันตกและตะวันออก จิตนิยม วัตถุนิยม ธรรมชาตินิยม เจตจำนงเสรี ความมีอยู่ของพระเจ้า

Meaning, scope and main concepts of Western and Eastern metaphysics including Idealism, Materialism, Naturalism, Free Will, Existence of God

รหัสวิชา    26523264
รายวิชา     ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
                   Introduction to Logic
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ความสำคัญของการอ้างเหตุผล การอ้างเหตุผลแบบนิรนัย อุปนัย ความสมเหตุสมผลในการอ้างเหตุผล ข้อบกพร่องในการอ้างเหตุผล วิธีแก้ไข วินิจฉัยการอ้างเหตุผลที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

Meaning, importance of reasoning, deductive reasoning, inductive reasoning, validity, fallacy proving, the remedy, studying reasoning in everyday life

รหัสวิชา    26523364
ชื่อวิชา      ญาณวิทยา
                   Epistemology
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขตของญาณวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างญาณวิทยากับศาสตร์อื่นๆ แนวคิดหลักทางญาณวิทยาตะวันตกและตะวันออก

Meaning, scope of epistemology, relation between epistemology and other sciences, main concepts of Western and Eastern epistemology

รหัสวิชา    26524164
ชื่อวิชา      พุทธศาสนาในประเทศไทย
                   Buddhism in Thailand
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ประวัติของพุทธศาสนาในประเทศไทย พุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนธรรมและเป็นสถาบัน อิทธิพลของพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทย

History of Buddhism in Thailand, Buddhism as religion and as institution.  influence of Buddhism on Thai society

รหัสวิชา    26525164
ชื่อวิชา      ปรัชญากรีกและโรมัน
                    Greek and Roman Philosophy
หน่วยกิต   3(3-0-6)

กำเนิด การวิวัฒนาการปรัชญาตะวันตก วิเคราะห์ปรัชญากรีกและโรมันปรัชญาของโสเครตีส เพลโต อริสโตเติล

The Origin, development of Western philosophy, an analysis of Greek and Roman philosophy, the philosophy of Socrates, Plato and Aristotle

รหัสวิชา    26525264
ชื่อวิชา      ปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ
                   Ancient Indian Philosophy
หน่วยกิต   3(3-0-6)

พัฒนาการของปรัชญาอินเดียยุคพระเวท อุปนิษัท ภควัทคีตา จารวาก เชน ปรัชญาอินเดีย 6 สำนัก อิทธิพลของปรัชญาอินเดียที่มีต่อสังคมปัจจุบัน

The development of Indian philosophy since the Periods of Vedas, Upanishads, Bhagavad-Gita, Carvaka, Jainism, Six Schools of Indian Philosophy, influences of Indian Philosophy on contemporary society

รหัสวิชา    26532164
ชื่อวิชา      สมาธิในพุทธศาสนา
                   Buddhist Meditation
หน่วยกิต   3(2-2-5)

ความหมาย ประเภท วิธีการฝึกสมาธิ การนำสมาธิมาประยุกต์ในชีวิตประจำวัน

Meaning, types, methods of meditation, an application of meditation to everyday life

รหัสวิชา     26533164
ชื่อวิชา      สุนทรียศาสตร์
                   Aesthetics
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ปัญหาทางสุนทรียศาสตร์ ทฤษฎีเกี่ยวกับความงาม ธรรมชาติของความงาม สิ่งที่งาม ศิลปะวิจารณ์

Meaning, problems of aesthetics, theories of beauty, nature of beauty art criticism

รหัสวิชา     26544164
ชื่อวิชา       ปรากฏการณ์ทางศาสนาและปัญหาสังคมร่วมสมัย
                    Religious Phenomena and Contemporary Social Problems                     
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ความหมาย บ่อเกิด ปรากฏการณ์ทางศาสนา ขบวนการทางศาสนาในสังคมสมัยใหม่ บทบาทของศาสนากับการแก้ปัญหาสังคมร่วมสมัย

Meaning, source, phenomena of religions, religious movements in modern society, role of religions in solving social problems in contemporary society

วิชาเอกเลือก

รหัสวิชา    26515164
ชื่อวิชา      การใช้เหตุผล
                  Reasoning
หน่วยกิต   3(3-0-6)

รูปแบบของการอ้างเหตผล การประเมินการอ้างเหตุผล การอ่านและการเขียนเชิงวิพากย์

Forms of arguments, evaluation of arguments, critical reading and writing

รหัสวิชา    26525364
ชื่อวิชา      จริยศาสตร์สิ่งแวดล้อม
                   Environmental Ethics
หน่วยกิต   3(3-0-6)

แนวคิด ทฤษฎีสำคัญทางจริยศาสตร์สิ่งแวดล้อม ที่สะท้อนปัญหาสิ่งแวดล้อม ภาวะโลกร้อน แนวทางแก้ไขและการประยุกต์ในชีวิตประจำวัน

Concepts, important theories of environmental ethics reflecting environmental problems, global warming, remedy and the application to everyday life

รหัสวิชา    26532264
ชื่อวิชา      พระไตรปิฎกศึกษา
                   Tipitaka Study
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ความเป็นมา ความสำคัญ พัฒนาการ โครงสร้าง เนื้อหาสาระของพระไตรปิฎก คำอธิบายพระไตรปิฎกของพระอรรถกถาจารย์ การรักษาสืบทอดพระไตรปิฎก ความเป็นมาของพระไตรปิฎกในประเทศไทย และประโยชน์จากการศึกษาพระไตรปิฎก

Origin, importance, development, structure and content of Tipitaka; Tipitaka’s interpretation, Tipitaka’s inheritance, history of Tipitaka in Thailand, and benefit of Tipitaka’s study

รหัสวิชา    26533264
ชื่อวิชา      ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์
                   Symbolic Logic
หน่วยกิต   3(3-0-6)

การใช้สัญลักษณ์แทนข้อความ การพิสูจน์ค่าความจริงของข้อความ การพิสูจน์ความสมเหตุสมผลของการอ้างเหตุผลด้วยวิธีการของตรรกศาสตร์สัญลักษณ์  ตรรกศาสตร์ข้อความ  ตรรกศาสตร์ภาคขยาย

An Application of symbol for the statement, proof of truth value of statement and validity of argument with the method of symbolic logic, propositional logic, predicate logic

รหัสวิชา    26534164
ชื่อวิชา      พุทธเศรษฐศาสตร์
                   Buddhist Economics
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขตของพุทธเศรษฐศาสตร์ การประยุกต์พุทธธรรมด้านการผลิต การค้า การบริโภค การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ เศรษฐกิจ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Meaning and scope of Buddhist economics, the application of Buddhist Dharma to production, commerce, consumption, human resource development, natural resource, economics, philosophy of sufficiency economy

รหัสวิชา     26534264
ชื่อวิชา       พุทธศาสนากับการพัฒนาสังคม
                   Buddhism and Social Development
หน่วยกิต    3(3-0-6)

วิเคราะห์พุทธศาสนา บทบาทของพระสงฆ์ในสังคมไทยที่เกี่ยวกับการพัฒนา การแก้ปัญหาสังคม ด้านการศึกษา สังคมสงเคราะห์ สิ่งแวดล้อม

An Analytical study on Buddhism, the role of buddhist monks in developing society, solving social problems in Thai society about education, social work, environment

รหัสวิชา     26534364
ชื่อวิชา       ศาสนากับวัฒนธรรม
                    Religion and Culture
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ความสัมพันธ์ของศาสนากับวัฒนธรรม โดยมุ่งความสนใจไปที่การพิจารณาและวิเคราะห์นัยสำคัญของศาสนาในวัฒนธรรม จารีตประเพณีต่างๆ รวมทั้งชีวิตประจำวันของผู้คนในสังคม

Relationship between religion and culture, focusing to examine and analyze the significance of religion in culture, tradition and everyday life

รหัสวิชา     26534464
ชื่อวิชา       ศาสนากับการพัฒนาสุขภาวะ
                    Religion and Well-Being Development
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ความสำคัญของการศึกษาศาสนากับการพัฒนาสุขภาวะ แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับสุขภาวะ องค์ประกอบหลักที่ก่อให้เกิดสุขภาวะ แนวคิดและหลักการทางพุทธศาสนา คริสต์ศาสนา และศาสนาอิสลามที่สัมพันธ์กับสุขภาวะและแนวทางการพัฒนาสุขภาวะทางกาย อารมณ์ สติปัญญา จิตวิญญาณ สังคม และสิ่งแวดล้อม บทบาทองค์การศาสนาที่มีต่อการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนในสังคมไทย

Importance of studying religion and well-being development; concepts and principles of well-being; main factors contributing to well-being; Buddhist, Christian, and Islamic concepts and principles related to well-being and ways to develop physical, emotional, intellectual, spiritual, social, and environmental well-being; roles of religious organizations in the well-being development

รหัสวิชา     26534564
ชื่อวิชา       ปรัชญาศาสนา
                    Philosophy of Religion
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ความหมาย ลักษณะ ขอบเขตของปรัชญาศาสนา ภาษาทางศาสนา เหตุผลและศรัทธาในศาสนา ความมีอยู่ของพระเจ้า ความชั่ว อมตภาพของวิญญาณ จุดหมายสูงสุดของศาสนา

Meaning, characteristics, scope of philosophy of religion, religious language, reason and faith in religion,  analysis of the problems of God, Evil, the immortality of Soul, the untimate goal of religion

รหัสวิชา    26535164
ชื่อวิชา      ปรัชญาการศึกษา
                   Philosophy of Education
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขต แนวคิดสำคัญทางการศึกษาของปรัชญาตะวันตกและตะวันออก ปรัชญาการศึกษาของไทย

Meaning, scope and important concepts of Western and Eastern philosophy of education, the philosophy of Thai education

รหัสวิชา    26535264
ชื่อวิชา      ปรัชญาสังคมและการเมือง
                   Social and Political Philosophy
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขต วิเคราะห์ปัญหาเรื่องสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค ความยุติธรรม อำนาจ ตามแนวคิดของปรัชญาสำนักเสรีนิยม สังคมนิยม อนาธิปัตย์นิยม พุทธปรัชญากับสังคมและการเมือง

Meaning, scope of social and political philosophy, an analysis of problems of right, freedom, equality, justice, power based on main Schools of Libertarianism, Socialism, Anarchism, Buddhist philosophy concerning society and politics

รหัสวิชา     26535364
ชื่อวิชา       จริยศาสตร์ประยุกต์
                    Applied Ethics     
หน่วยกิต    3(3-0-6)

 แนวคิดทางจริยศาสตร์ ความขัดแย้งทางจริยศาสตร์ วิธีการแก้ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการทำแท้ง การุณยฆาต วิศวพันธุกรรม เรื่องทางเพศ การฆ่าตัวตาย  ปัญหาจรรยาบรรณวิชาชีพ

Ethical concepts, conflicts and remedies about abortion, euthanasia, bio-engineering, sexology, suicide, professional ethics

รหัสวิชา    26535464
ชื่อวิชา      ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่และร่วมสมัย
                   Modern and Contemporary Western Philosophy
หน่วยกิต   3(3-0-6)

กำเนิด วิวัฒนาการของปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่และร่วมสมัย วิเคราะห์แนวคิดของนักปรัชญาตั้งแต่เดส์การ์ตถึงซาร์ตร์

Origin, development of modern and Contemporary Western philosophy, analysis of main concepts of philosophers from Descartes to Sartre

รหัสวิชา     26535564
ชื่อวิชา      ปรัชญาภาษา
                   Philosophy of Language
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขตของภาษา ความสัมพันธ์ระหว่างภาษา ความคิด ความจริง แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาภาษา วิกต์เกนสไตส์, เบอร์ทรันด์ รัซเซลล์, กิลเบิร์ต ไรส์ ชอมสกี้

Meaning, scope of language, relation between language, thought, truth. important concepts of philosophers of language, Wittgenstein, Bertrand Russell, Gylbert Ryle, Chomsky

รหัสวิชา     26535664
ชื่อวิชา      ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย
                    Contemporary Indian Philosophy
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญาอินเดียโบราณกับปรัชญาอินเดียร่วมสมัย แนวคิดของนักปรัชญาอินเดียร่วมสมัยที่ได้รับอิทธิพลจากนักปรัชญาตะวันตก รามกฤษณะ ปรมหังสะ, สวามี วิเวกานันทะ, ระพินทรนาถ ฐากูร, มหาตมะ คานธี, ศรี ออระพินโท, กฤษณจันทระ ภัฏฏาจารย์, กฤษณะ มูรติ, เอ็มเบ็ดการ์, ราธกฤษณัน, อิกบัล

The relation between Ancient Indian Philosophy and contemporary Indian philosophy, study of the thought of contemporary Indian philosophers with Western Influence, Swami Ramakrishna Paramahamsa, Swami Vivekananda, Rabindranath Tagore, Mahatma Gandhi, Sri Aurobindo, Krishnachandra, Bhattacharyya Krishnamurti, Ambedkar, Radhakrishnan, Iqbal

รหัสวิชา    26535764
ชื่อวิชา      ปรัชญาจีนและญี่ปุ่น
                   Chinese and Japanese Philosophy
หน่วยกิต   3(3-0-6)

บ่อเกิด แนวคิดที่สำคัญของปรัชญาจีนและญี่ปุ่น อิทธิพลของปรัชญาจีนและญี่ปุ่นที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรม

Origin and main concepts of Chinese and Japanese philosophy, their influences on society and culture

รหัสวิชา    26535864
ชื่อวิชา      ปรัชญาไทย
                   Thai Philosophy
หน่วยกิต   3(3-0-6)

บ่อเกิด ที่มาของปรัชญาไทย แนวคิดของนักคิดไทยที่ปรากฏในวรรณกรรม ตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน  กระแสแนวคิดปัจจุบัน

Origin, background of Thai philosophy, thoughts of Thai intellectuals, as seen from Sukhothai literature to contemporary ones, the contemporary trend of thought

รหัสวิชา    26544264
ชื่อวิชา      ศาสนาเปรียบเทียบ
                  Comparative Religion
หน่วยกิต   3(3-0-6)

เปรียบเทียบประวัติ หลักคำสอน หลักปฏิบัติ ปรัชญา พิธีกรรม อิทธิพลของศาสนาที่มีต่อชีวิตและสังคม

A Comparison of history, doctrines, practices, philosophy, rituals, influence of religion on life and society

รหัสวิชา    26544364
ชื่อวิชา      สานเสวนาระหว่างศาสนา
                  Inter-religious Dialogue
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความสำคัญของการศึกษาสานเสวนาระหว่างศาสนา พัฒนาการสานเสวนาระหว่างศาสนา ทัศนะของพุทธศาสนา คริสต์ศาสนา และศาสนาอิสลามต่อความสัมพันธ์ระหว่างศาสนา การจัดสานเสวนาภายในและระหว่างศาสนาเพื่อสันติภาพทั้งภายนอกและภายในตนเอง กรณีศึกษาการสานเสวนาทางด้านศาสนาในสังคมไทย

Importance of studying inter-religious dialogue; development of inter-religious dialogue; Buddhist, Christian and Islamic views of inter-religious relation; conducting intra- and inter-religious dialogue for outer and inner peace; a case study of inter-religious dialogue in Thai society

รหัสวิชา     26544464
ชื่อวิชา      หน้าที่และความรับผิดชอบ
                   Duty and Responsibility
หน่วยกิต   3(3-0-6)

แนวคิด ความสำคัญของหน้าที่และความรับผิดชอบ มุมมองทางศาสนาและปรัชญาที่มีต่อหน้าที่และความรับผิดชอบ และการประยุกต์ใช้ในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ

Concept, importance of duty and responsibility, religious and philosophical views on duty and responsibility and the application for efficient working

รหัสวิชา    26544564
ชื่อวิชา      พุทธจริยศาสตร์
                  Buddhist Ethics
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย บ่อเกิด ขอบเขต ความสำคัญ ปัญหาพื้นฐานของจริยศาสตร์เกี่ยวกับความดี ความชั่ว เสรีภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับบุคคล บุคคลกับสังคม มาตรฐานแห่งความประพฤติ

Meaning, Origin, Scope, Importance, Fundamental problems of good and evil, freedom, relationship between individuals and society, standard of conduct

รหัสวิชา     26545164
ชื่อวิชา       ปรัชญาเปรียบเทียบ
                   Comparative Philosophy
หน่วยกิต   3(3-0-6)

เปรียบเทียบ บ่อเกิด ทัศนะของปรัชญาตะวันตก-ตะวันออก ด้านอภิปรัชญา ญาณวิทยา จริยศาสตร์ สุนทรียศาสตร์

Comparison of origin, concepts of Western and Eastern philosophy in metaphysics, epistemology, ethics, aesthetics

รหัสวิชา    26545264
ชื่อวิชา      ปรัชญาหลังสมัยใหม่
                    Postmodern Philosophy
หน่วยกิต   3(3-0-6)

พัฒนาการของปรัชญาหลังสมัยใหม่ การวิพากษ์ปรัชญาหลังสมัยใหม่ ความคิดของนักปรัชญาหลังสมัยใหม่ ความสำคัญของปรัชญาหลังสมัยใหม่ ลีโอตาร์ด, แดริดา ลาก็อง, ฟูโกต์, โบริยาร์ด

Development of Postmodern, Critics of Modern philosophy, The important thought of Postmodern Philosophy, Importance Postmodern Philosophy Lyotard, Derrida, Lacan, Foucault, Baudrillard

รหัสวิชา    26545364
ชื่อวิชา      จริยธรรมธุรกิจ
                   Business Ethics
หน่วยกิต    3(3-0-6)

แนวคิดและที่มาของจริยธรรม ทฤษฏีทางจริยธรรมธุรกิจ ธรรมชาติของธุรกิจ ความจำเป็นในการนำจริยธรรมไปใช้ในธุรกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจกับสังคม จริยธรรมธุรกิจที่มีต่อผู้บริโภคและคู่แข่ง หลักการสร้างจริยธรรมในองค์กรธุรกิจ การสร้างผลกำไรและจริยธรรม จริยธรรมผู้บริหารและพนักงาน บริษัทภิบาล และประเด็นทางจริยธรรมธุรกิจในปัจจุบัน

Concepts and sources of ethics; theories of business ethics; nature of business; necessity for implementation of ethics in business; relationship between business and society; business ethics towards consumers and competitors; principles for establishment of ethics in business organizations, making profits and ethics; ethics of executives and employees; corporate governance, and present ethical issues

รหัสวิชา    26549164      
ชื่อวิชา      ระเบียบวิธีวิจัยทางศาสนาและปรัชญา
                   Research Method in Religion and Philosophy
หน่วยกิต   3(3-0-6)

หลักและระเบียบวีวิจัยทางปรัชญาและศาสนา การกําหนดปัญหา การวางรูปแบบการวิจัย การตั้งวัตถุประสงค์และสมมติฐาน การเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการ และเครื่องมือทางการวิจัย การวิเคราะห์และตีความข้อมูล ระเบียบวิจัยแบบต่างๆ และการเขียนรายงานและการเสนอผลการวิจัย

Principles and research methodology in philosophy and religion, statement of the problem, research design, objective of research, research hypothesis, collection of data, method and research instrument, analysis and interpretation of data, various research methodology, and research report and presentation

รหัสวิชา    26549264
ชื่อวิชา      การศึกษาอิสระ
                   Independent Study
หน่วยกิต   3(1-4-4)

ศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่นิสิตสนใจอย่างลึกซึ้งในด้านศาสนาและปรัชญา โดยความเห็นชอบและการควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษา

Studying and searching in dept in any interesting topics within religious and philosophical areas through the approval and guidance of adviser

รหัสวิชา     26549364
ชื่อวิชา       การเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงาน
                    Preparation for Work
หน่วยกิต    2(1-2-3)

หลักการ แนวคิด และกระบวนการของการบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน หรือการฝึกงานในต่างประเทศ  ความรู้พื้นฐานและเทคนิคในการสมัครงานและปฏิบัติงาน  ทักษะการสื่อสาร  ทักษะการวางแผน ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและการตัดสินใจ การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม การทำงานเป็นทีม บุคลิกภาพและมารยาท การจัดการอารมณ์และความเครียด จริยธรรมในการปฏิบัติงานและจรรณยาบรรณในวิชาชีพ

Principles, concepts and processes of co-operative education or overseas internships;  basic knowledge and techniques in job application and working;  communication skills, planning skills, analytical skills, immediate problem solving and decision making skills,  cross-cultural communication, team working,  personality and manners,  emotional and stress management,  work ethics and code of ethics professional

วิชาการบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน           

รหัสวิชา     26549464
ชื่อวิชา       การบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน
                   Cooperative and Work Integrated Education
หน่วยกิต    6(0-18-9)

การปฏิบัติงานในสถานที่ปฏิบัติงานเสมือนเป็นพนักงานชั่วคราวเต็มเวลาของสถานที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งตามที่สอดคล้องกับสาขาที่เรียนและเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของนิสิตโดยได้รับการอนุมัติจากภาควิชา เพื่อเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการปฏิบัติงาน ทำให้นิสิตได้รับประสบการณ์จริงจากการปฏิบัติงาน เกิดการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีความพร้อมในการทำงาน และสามารถทำงานได้ทันทีหลังสำเร็จการศึกษา

Practicing in a workplace as a temporary full-time employee in a relevant position that suits a student’s field of study and abilities with the approval of the department for integrating theoretical knowledge and practice resulting in student’s gaining of work experience, self-development and readiness for work upon graduation

หมวดวิชาเลือกเสรี

วิชาเลือกเสรีของภาควิชาศาสนาและปรัชญา ที่เปิดสอนให้คณะ/หลักสูตรอื่น ภาควิชาศาสนาและปรัชญาได้เปิดรายวิชาเลือกเสรี เพื่อเปิดโอกาสให้นิสิตทุกสาขาวิชาที่มีความต้องการเรียนในรายวิชาที่สนใจ ดังนี้

รหัสวิชา    26510064
ชื่อวิชา      มนุษยศาสตร์เชิงบูรณาการ
                   Integrated Humanities
หน่วยกิต   2(2-0-4)

ความจริงและคุณค่าของชีวิต สิทธิและหน้าที่ ความรู้และการแสวงหาความรู้ การคิดวิพากษ์และการใช้เหตุผล คุณธรรมและจริยธรรมเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม

Reality and value of life, rights and duties, knowledge and the pursuit of knowledge, critical thinking and reasoning, virtue and ethics for developing oneself and society

รหัสวิชา    26510164
ชื่อวิชา      จริยธรรมในชีวิตประจำวัน
                   Ethics in Everyday Life
หน่วยกิต    2(2-0-4)

ความหมาย ความสำคัญ วิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้งทางจริยธรรมเกี่ยวกับปัญหาการตัดสินใจ ปัญหาการทำปาณาติบาต  การประยุกต์จริยธรรมใช้ในชีวิตประจำวัน

Meaning, importance and analysis of ethical conflicts about decision making, killing, the application of ethics to everyday life

รหัสวิชา     26510264
ชื่อวิชา       ปรัชญาในภาพยนตร์
                   Philosophy in Film
หน่วยกิต    2(2-0-4)

วิเคราะห์ประเด็นปัญหาปรัชญาที่ปรากฏในภาพยนตร์โดยตั้งอยู่บนฐานคิดเรื่องความจริง ความรู้ และความดี

An Analysis of philosophical problems in films based on concepts of reality, knowledge and  goodness

รหัสวิชา     26510364
ชื่อวิชา       พุทธศาสน์
                   Buddhism
หน่วยกิต    2(2-0-4)

หลักคำสอนของพุทธศาสนา นำมาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน  เพื่อให้บุคคล สังคมเกิดความสงบสุขและสันติ

Buddhist doctrines in everyday practices promotlng peace and non-violence to individuals and society

รหัสวิชา    26510464
ชื่อวิชา      สตรีในพุทธศาสนา
                  Women in Buddhism
หน่วยกิต    2(2-0-4)

สถานภาพของสตรีในอินเดียก่อนพุทธกาล การเกิดขึ้นของภิกษุณี การแผ่ขยายภิกษุณีสงฆ์ออกไปสู่ประเทศต่างๆ การยกระดับ หน้าที่บทบาทของสตรีในพุทธศาสนา

The Status of ndian women before Buddhist period, the origin of Buddhist female monks, the spread of female monks to other countries, the development, the duties and the roles of female monks in Buddhism

รหัสวิชา    26510564
ชื่อวิชา      มนุษย์กับทักษะการคิด
                  Man and Thinking Skills
หน่วยกิต   2(2-0-4)

ความหมาย คุณค่าของการคิด วิธีการคิด การใช้ปัญญาหาเหตุผลและการนำทักษะการคิดไปใช้เพื่อป้องกัน และแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน

Meaning and value of thinking, method of thinking, reasoning and application of thinking skills to prevent and solve the problems in daily life

ปีที่  1  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

ศึกษาทั่วไป

89510064

ภูมิบูรพา

Wisdom of BUU

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป

89520064

พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคมไทย อาเซียน และโลก

Citizenship and Responsibility towards Society of Thailand,

ASEAN, and the World

2(1-2-3)

ศึกษาทั่วไป

89520464

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

English for Communication

3(2-3-5)

เอกบังคับ

26512164         

ศาสนาเบื้องต้น

Introduction to Religion

3(3-0-6)

เอกบังคับ

26513164

ปรัชญาเบื้องต้น           

Introduction to Philosophy

3(3-0-6)

เอกบังคับ

26512364

พุทธศาสนาเถรวาท

Theravada Buddhism

3(3-0-6)

เอกเลือก

265xxxxx

เอกเลือก

3(3-0-6)

รวม (Total)

20

ปีที่  1  ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

ศึกษาทั่วไป

89510264

ความสุขและคุณค่าชีวิต

Happiness and Values of Life

2(1-2-3)

ศึกษาทั่วไป

89520664

ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ชีวิตจริง

Experiential English

3(2-3-5)

ศึกษาทั่วไป

89520864

ทักษะภาษาไทยเพื่อการอาชีพในสังคมร่วมสมัย

Thai Language Skills for Careers in Contemporary Society

2(1-2-3)

เอกบังคับ

26512264

ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม

Christianity and Islam

3(3-0-6)

เอกบังคับ

26513264

จริยศาสตร์

Ethics

3(3-0-6)

เอกบังคับ

26512464

พุทธศาสนามหายาน

Mahayana Buddhism

3(3-0-6)

วิชาเลือกเสรี

xxxxxxxx

วิชาเลือกเสรี

2(X-X-X)

รวม (Total)

18

ปีที่  2  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

ศึกษาทั่วไป

89510364

การบริหารสุขภาวะทางกาย

Physical Well-being Management

2(1-2-3)

ศึกษาทั่วไป

89520364

กิจกรรมสร้างสรรค์

Creative Activities

2(1-2-3)

ศึกษาทั่วไป

89530064

โอกาสและความท้าทายในการทำงานในโลกอนาคต

Opportunities and Challenges for Future Careers

2(2-0-4)

เอกบังคับ

26523164

อภิปรัชญา

Metaphysics

3(3-0-6)

เอกบังคับ

26523264

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

Introduction to Logic

3(3-0-6)

เอกบังคับ

26525164

ปรัชญากรีกและโรมัน

Greek and Roman Philosophy

3(3-0-6)

วิชาโท

xxxxxxxx

วิชาโท

3(3-0-6)

วิชาเลือกเสรี

xxxxxxxx

วิชาเลือกเสรี

2(X-X-X)

รวม (Total)

20

ปีที่  2  ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

ศึกษาทั่วไป

89510664

เสพศิลป์สร้างสุข

Appreciation of Arts for a Happy Life

2(1-2-3)

ศึกษาทั่วไป

89530164

ทักษะดิจิทัล

Digital Skill

2(2-0-4)

ศึกษาทั่วไป

89531164

กฎหมายสำหรับคนทำงานและธุรกิจ

Law for Worker and Business

2(2-0-4)

เอกบังคับ

26524164

พุทธศาสนาในประเทศไทย

Buddhism in Thailand

3(3-0-6)

เอกบังคับ

26523364

ญาณวิทยา       

Epistemology

3(3-0-6)

เอกบังคับ

26525264

ปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ

Ancient Indian Philosophy

3(3-0-6)

วิชาโท

xxxxxxxx

วิชาโท

3(3-0-6)

วิชาเลือกเสรี

xxxxxxxx

วิชาเลือกเสรี

2(X-X-X)

รวม (Total)

20

ปีที่  3  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

ศึกษาทั่วไป

89539764

การเป็นผู้ประกอบการในศตวรรษที่ 21

Entrepreneurship in the 21st Century

3(0-0-9)

เอกบังคับ

26533164

สุนทรียศาสตร์   

Aesthetics

3(3-0-6)

เอกเลือก

265xxxxx

วิชาเอกเลือก

9

วิชาโท

xxxxxxxx

วิชาโท

3(3-0-6)

รวม (Total)

18

ปีที่  3  ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

เอกบังคับ

26532164

สมาธิในพุทธศาสนา

Buddhist Meditation

3 (2-2-5)

เอกเลือก

265xxxxx

วิชาเอกเลือก

12

วิชาโท

xxxxxxxx

วิชาโท

3(3-0-6)

รวม (Total)

18

ปีที่  4  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

เอกบังคับ

26544164

ปรากฏการณ์ทางศาสนาและปัญหาสังคมร่วมสมัย

Religious Phenomena and Contemporary Social Problems

3(3-0-6)

วิชาโท

xxxxxxxx

วิชาโท

3(3-0-6)

เอกเลือก

265xxxxx

วิชาเอกเลือก

5

รวม (Total)

11

ปีที่  4  ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

การบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน

26549464

การบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน
Cooperative and Work Integrated Education

6

รวม (Total)

6

หมายเหตุ

  1. นิสิตที่เลือกเรียนรายวิชาการบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงานศึกษา (จำนวน 6 หน่วยกิต) ต้องออกไปฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานภายนอก ตลอดภาคการศึกษา
  2. นิสิตที่ไม่เลือกเรียนรายวิชาการบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน ต้องเลือกเรียนรายวิชาเอกเลือกอีก 2 รายวิชา (จำนวน 6 หน่วยกิต) หรือ
  3. กรณีที่นิสิตไม่สามารถปฏิบัติงานในรายวิชาการบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน ภาควิชาฯ จะอนุโลมให้นิสิตเรียนวิชาเฉพาะแทน (จำนวน 6 หน่วยกิต)
    

1.  นายขันทอง  วิชาเดช (ประธานหลักสูตร)
   
ประวัติการศึกษา
    พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2562
    ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2545
    พธ.บ. (ปรัชญา) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540
     ตำแหน่งทางวิชาการ  อาจารย์

2.  นายบุญเลิศ   ยองเพ็ชร 
    ประวัติการศึกษา 
    Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India พ.ศ. 2550
    M.A. (Philosophy) Vivekananda College, India พ.ศ. 2539
    พธ.บ. (ศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2535
    ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

3.  นางพิชญรัตน์  เหมนาไลย
     ประวัติการศึกษา
     พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2555
     ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2550
     ค.อ.บ. (ครุศาสตร์เทคโนโลยี) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2546
     ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4.   นางรุ่งนิภา  เหลียง  
      ประวัติการศึกษา
      พธ.ด. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2559
      พธ.ม. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2551
      ศศ.บ. (ศาสนาและปรัชญา) เกียรตินิยมอันดับ 1 (เหรียญทอง) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2548
      ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

5.   นายปัทวี สัตยวงศ์ทิพย์      
      ประวัติการศึกษา
      ศศ.ม. (ไทยศึกษา)  มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2549           
      พธ.บ. (การสอนสังคมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2542
      ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

1.  นายขันทอง  วิชาเดช (ประธานหลักสูตร)
     
ประวัติการศึกษา
     พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2562
     ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2545
     พธ.บ. (ปรัชญา) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540
     ตำแหน่งทางวิชาการ  อาจารย์

2.  นายบุญเลิศ   ยองเพ็ชร 
     ประวัติการศึกษา 
     Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India พ.ศ. 2550
     M.A. (Philosophy) Vivekananda College, India พ.ศ. 2539
     พธ.บ. (ศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2535
     ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

3.  นางพิชญรัตน์  เหมนาไลย
     ประวัติการศึกษา
     พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2555
     ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2550
     ค.อ.บ. (ครุศาสตร์เทคโนโลยี) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2546
     ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4.   นางรุ่งนิภา  เหลียง  
      ประวัติการศึกษา
      พธ.ด. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2559
      พธ.ม. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2551
      ศศ.บ. (ศาสนาและปรัชญา) เกียรตินิยมอันดับ 1 (เหรียญทอง) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2548
      ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

5.   นายปัทวี สัตยวงศ์ทิพย์      
      ประวัติการศึกษา
      ศศ.ม. (ไทยศึกษา)  มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2549           
      พธ.บ. (การสอนสังคมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2542
      ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

6.  นายสกุล อ้นมา 
     ประวัติการศึกษา
     Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India พ.ศ. 2545               
     M.A. (Philosophy) Madras Christian College, India พ.ศ. 2537
     พธ.บ. (ปรัชญา) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2534
     ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

7.  นายบุญรอด บุญเกิด 
     ประวัติการศึกษา
     Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India พ.ศ. 2547     
     M.A. (Philosophy) Madras Christian College, India พ.ศ. 2539              
     พธ.บ. (ปรัชญา)  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2537                   
      ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

8.  นายชัยณรงค์   ศรีมันตะ  
     ประวัติการศึกษา
     Ph.D. (Philosophy) Panjab University, India พ.ศ. 2546
     M.A. (Philosophy) University of Delhi, India พ.ศ. 2537            
     พธ.บ. (ปรัชญา) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2534 
     ป.ธ.9 (บาลี) สำนักเรียนวัดทองนพคุณ กรุงเทพฯ พ.ศ. 2533   
     ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์                      

9.  นายเจตน์ ตันติวณิชชานนท์
     ประวัติการศึกษา
     ศศ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2559              
     ศศ.บ. (ศาสนาและปรัชญา) เกียรตินิยมอันดับ 1 (เหรียญทอง) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2557
      ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา (Yearly learning outcomes, YLO)

ปีที่ 1    นิสิตมีความรู้ความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานด้านศาสนาและปรัชญา

ปีที่ 2    นิสิตสามารถอธิบายแนวคิดด้านศาสนาและปรัชญาที่เกี่ยวกับศาสตร์อื่น ๆ

ปีที่ 3    นิสิตสามารถวิเคราะห์ และบูรณาการความรู้ด้านศาสนาและปรัชญาเข้ากับศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม

ปีที่ 4    นิสิตสามารถประยุกต์องค์ความรู้ด้านศาสนาและปรัชญาเพื่อการทำงาน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (General Education Learning Outcomes: GELO)

ด้านคุณธรรมจริยธรรม

GELO1   แสดงออกถึงความซื่อสัตย์ มีระเบียบวินัย มีศิลปวัฒนธรรมที่ดีงาม โดยเฉพาะเอกลักษณ์ความเป็นไทย

GELO2   แสดงพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมไทยและสังคมโลก มีจิตสาธารณะ ร่วมแก้ปัญหาสังคมต่อต้านการทุจริต

ด้านความรู้

GELO3   มีความรอบรู้ เท่าทันต่อการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของภูมิภาคในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและของโลก

ด้านทักษะทางปัญญา

GELO4   มีทักษะการแสวงหาความรู้ตลอดชีวิต วิเคราะห์ตนเอง สร้างแผนการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ

GELO5   มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถบูรณาการข้ามศาสตร์ใช้ในการแก้ปัญหา ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม

GELO6   สามารถใช้ความรู้และทักษะต่าง ๆ ในการเป็นผู้ประกอบการด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

GELO7   รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในพหุวัฒนธรรม และแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์

GELO8   สามารถทำงานเป็นทีม ทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม

ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

GELO9   สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการแสวงหาข้อมูลอย่างรู้เท่าทันและหลากหลาย รวมทั้งนำเสนองานอย่างมีประสิทธิภาพ

GELO10  สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

หมวดวิชาเฉพาะ (Program learning outcomes, PLO)

ด้านคุณธรรมจริยธรรม

PLO1   แสดงออกถึงความซื่อสัตย์ มีระเบียบวินัย มีศิลปวัฒนธรรมที่ดีงาม โดยเฉพาะเอกลักษณ์ที่ดีงามของความเป็นไทย

PLO2   แสดงพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมไทยและโลก มีความเข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่นและสังคม

ด้านความรู้

PLO3   มีความรอบรู้เท่าทันต่อการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของภูมิภาคในเขตภาคตะวันออกและของโลก

PLO4   มีทักษะการแสวงหาความรู้ตลอดชีวิต วิเคราะห์ศาสตร์ที่เรียน สร้างแผนการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ

PLO5   สามารถอธิบายองค์ความรู้ทางด้านศาสนาและปรัชญาได้ มีความรู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก

PLO6   รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดด้านวิชาการ ด้านการวิจัย และการติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์ที่เรียน

ด้านทักษะทางปัญญา

PLO7   สามารถค้นหาข้อเท็จจริง สรุป ทำความเข้าใจได้

PLO8   สามารถศึกษาวิเคราะห์ปัญหา และหาแนวทางแก้ไข สามารถบูรณาการองค์ความรู้ด้านศาสนาและปรัชญากับศาสตร์อื่นๆ

PLO9   มีทักษะการคิดที่เป็นระบบที่ได้รับการฝึกฝน

ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

PLO10 มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

PLO11 ปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการวางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ

PLO12 สามารถวางแผน รับผิดชอบการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆได้อย่างเหมาะสม รับฟังความคิดเห็นและทัศนคติที่แตกต่าง เป็นผู้นำและสมาชิกที่ดีของสังคม

ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

PLO13 ระบุเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์มาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมายได้

PLO14 สรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการเขียน การพูด รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมมีประสิทธิภาพPLO15  สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ค้นคว้าข้อมูลหลากหลายอย่างรู้เท่าทัน และจัดการข้อมูลได้อย่างเหมาะสม

กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด)

หลักเกณฑ์การวัดผลเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยบูรพา ที่ 0539/2559 เรื่อง การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 ข้อ 19  ระบบการให้คะแนน

1.  ระบบการให้คะแนนรายวิชา

ระบบการให้คะแนนของแต่ละรายวิชา ให้แสดงเป็นระดับขั้น ซึ่งมีความหมายและค่าระดับขั้นดังนี้

ระดับขั้น              ความหมาย                     ค่าระดับขั้น
A                        ดีเยี่ยม                                4.0
B+                      ดีมาก                                 3.5
B                        ดี                                        3.0
C+                     ค่อนข้างดี                           2.5
C                       พอใช้                                  2.0
D+                     อ่อน                                   1.5
D                       อ่อนมาก                             1.0
F                        ตก                                      0

2. การให้ระดับขั้น F ในรายวิชาใด ให้กระทำได้ในกรณีต่อไปนี้ด้วย  
    – นิสิตขาดสอบโดยไม่ได้รับอนุมัติจากคณบดีของคณะที่รายวิชาสังกัด
    – นิสิตมีเวลาเรียนไม่ครบตามเกณฑ์
    – นิสิตทุจริตในการวัดผล
    – นิสิตส่อเจตนาทุจริต

3.  ระบบการให้คะแนนของแต่ละรายวิชา ที่ไม่แสดงเป็นค่าระดับขั้น ให้แสดงด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ ดังนี้                      

สัญลักษณ์        ความหมาย
S                       ผ่านตามเกณฑ์ (Satisfactory)
I                        การประเมินผลยังไม่สมบูรณ์ (Incomplete)
U                       ไม่ผ่านตามเกณฑ์ (Unsatisfactory)
W                      งดเรียนโดยได้รับอนุมัติ (Withdrawn)
au                      ลงทะเบียนเรียนรายวิชาโดยไม่นับหน่วยกิต (Audit)

กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิต

1.  อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตรประเมินความสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการการจัดการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผล
2.  มีการประเมินผลของแต่ละรายวิชาผ่านที่ประชุมของภาควิชาฯ ก่อนประกาศผลสอบ
3.   ประธานหลักสูตรหรือผู้รับผิดชอบหลักสูตรและภาควิชาฯ ตรวจสอบจากรายงานผลการดำเนินงานรายวิชา (มคอ.5)

เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยบูรพา ที่ 0539/2559 เรื่อง การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 ข้อ 30 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา

–  สอบผ่านรายวิชาครบตามจำนวนหน่วยกิตที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
–  ได้ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.00 จากระบบค่าระดับขั้น 4
–  มีระดับความสามารถทักษะทางภาษาอังกฤษตามประกาศมหาวิทยาลัย
–  มีระดับความสามารถอื่นๆ (ถ้ามี) ตามประกาศของคณะ

ค่าธรรมเนียมการศึกษา
ภาคเรียนที่ 1   15,000  บาท
ภาคเรียนที่ 2   15,000  บาท
ภาคฤดูร้อน     7,500 บาท

➕ รายละเอียดเพิ่มเติม

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559

🎓ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย:        หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา
ภาษาอังกฤษ:    Bachelor of Arts Program  in Religion and  Philosophy

🎓ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อปริญญาภาษาไทย:     ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศาสนาและปรัชญา)
ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: Bachelor of Arts  (Religion and Philosophy)
อักษรย่อภาษาไทย:        ศศ.บ. (ศาสนาและปรัชญา)
อักษรย่อภาษาอังกฤษ:    B.A.  (Religion and Philosophy)

🎓 จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 132 หน่วยกิต

🎓อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

ผู้สำเร็จการศึกษา สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลาย เช่น ครู อาจารย์ นักวิชาการด้านศาสนาและปรัชญา พนักงานพัฒนาทรัพยากรบุคคลพนักงานฝ่ายบริหารจัดการ ผู้ประกอบการอิสระ หรือประกอบอาชีพในหน่วยงาน ที่รับรองวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขา

🎓ปรัชญา

พัฒนาองค์ความรู้ด้านศาสนาและปรัชญา มีศรัทธาในการแสวงหาความรู้ สร้างวิธีคิดและแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล ดำรงตนอยู่ในคุณธรรมและจริยธรรม

🎓ความสำคัญ

สภาพสังคมปัจจุบันประสบปัญหาวิกฤติทางศีลธรรมจริยธรรม ทุกหน่วยงานทั้งของภาครัฐและภาคเอกชนต่างก็ต้องการบุคคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม และสามารถนำไปประยุกต์กับหน่วยงานดังกล่าวได้ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรมออกสู่สังคมให้มากขึ้น

🎓วัตถุประสงค์

เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแล้ว บัณฑิตศาสนาและปรัชญา จะมีคุณธรรม จริยธรรม  ความรู้ความสามารถ และทักษะ ดังนี้

  1. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถด้านศาสนาและปรัชญา เพื่อตอบสนองความต้องการกำลังคนที่มีคุณธรรมจริยธรรม ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยร้อยละ 80 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนี้ จะสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพได้
  2. บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจแนวคิดทางศาสนาและปรัชญา มีความรู้ความสามารถ มีคุณธรรมและจริยธรรม พัฒนาความคิด วิเคราะห์ปัญหา แก้ปัญหาได้อย่างมีวิสัยทัศน์และเหมาะสม และสามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีวิจารณญาณ

🎓โครงสร้างวิชาเอกศาสนาและปรัชญา  ไม่น้อยกว่า 132 หน่วยกิต

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า    30   หน่วยกิต

2) หมวดวิชาเฉพาะ                                96   หน่วยกิต

    2.1)  วิชาเอก                                     96  หน่วยกิต

             2.1.1)  วิชาเอกบังคับ                 48  หน่วยกิต

             2.1.2)  วิชาเอกเลือก                  48  หน่วยกิต        

3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า          6    หน่วยกิต 

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                                       

รหัสวิชา    99910159    
ชื่อวิชา      ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร  
                   English for Communication                                                      
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ทักษะ ฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ โดยเน้นศัพท์และโครงสร้างพื้นฐานเพื่อใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน

Skills in listening, speaking, reading, and writing  English, with emphasis on vocabulary and basic structure to achieve a practical command of the English language for communication in daily life

รหัสวิชา    99910259      
ขื่อวิชา      ภาษาอังกฤษระดับมหาวิทยาลัย            
                  Collegiate English                                          
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ทักษะ ฟัง พูด อ่าน และเขียน โดยเน้นศัพท์และโครงสร้างระดับกลาง ศึกษากลยุทธ์ในการเรียนภาษาอังกฤษในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ภาษาอังกฤษในการเรียนรู้และเพิ่มพูนความรู้

Intermediate skills in listening, speaking, reading, and writing English with emphasis on the sustained expansion of vocabulary, the development of a higher knowledge  understanding of structure, and the strategies for English language learning to achieve a more practical and greater command of the English language for communication in college level

รหัสวิชา     99920159      
ชื่อวิชา      การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร                                                 
                   English Writing for Communication
หน่วยกิต   3(3-0-6)

การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารในชีวิตประจำวันและในสถานประกอบการ โดยใช้วิธีการเรียบเรียงที่เหมาะสม

English writing for daily-life and workplace communication using appropriate patterns of organizations

รหัสวิชา      22810159      
ชื่อวิชา       ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
                    Thai Language Skills for Communication                                   
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ภาษากับความคิดและเหตุผล บูรณาการทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสมแก่บริบทและสถานการณ์ทั้งในชีวิตประจำวันและในเชิงวิชาการ

Language, thinking, and reason; integration of language skills for efficient communication suitable with context and situations both in daily life and for academic purposes

รหัสวิชา      41530359      
ชื่อวิชา       จิตวิทยาเพื่อคุณภาพชีวิต                                                   
                    Psychology for the Quality of Life
หน่วยกิต    2(2-0-4)

ทฤษฎีและหลักการทางจิตวิทยาเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ กระบวนการเรียนรู้และถ่ายทอดทางสังคม การสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น รูปแบบการดำเนินชีวิต การปรับตัว และการพัฒนาคุณภาพชีวิต

Psychological theories and principles of human nature, the process of learning and socialization, human relationship, life styles, adjustment and development of the quality of life

รหัสวิชา     73110159      
ชื่อวิชา       ทักษะชีวิตและสุขภาพวัยรุ่น
                    Life Skill and Adolescent Health                                                            
หน่วยกิต   2 (2-0-4)

ความหมาย แนวคิด สถานการณ์และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพวัยรุ่น ทักษะชีวิต บุคลิกภาพ สุขภาพทางเพศของวัยรุ่น และการสร้างเสริมพฤติกรรมทางเพศ การวางแผนชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Definition, concept, situation and factors related to adolescent, health, life skill, personality, sexual health and health promotion for sexual health behavior, life planning based on the philosophy of sufficiency economy

รหัสวิชา     26510959      
ชื่อวิชา      มนุษยศาสตร์เชิงบูรณาการ
                   Integrated Humanities                                                              
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความจริงและคุณค่าของชีวิต สิทธิและหน้าที่ ความรู้และการแสวงหาความรู้ การคิดวิพากษ์และการใช้เหตุผล คุณธรรมและจริยธรรมเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม

Reality and value of life, rights and duties, knowledge and the pursuit of knowledge, critical thinking and reasoning, virtue and ethics for developing oneself and society

รหัสวิชา     40240459     
ชื่อวิชา       จิตอาสาเพื่อการพัฒนาสังคม
                  Volunteer Spirit for Social Development                                                
หน่วยกิต    2(2-0-4)

ความหมาย กิจกรรม รูปแบบกิจกรรมจิตอาสาในประเทศ และต่างประเทศ วงจรการดำเนินการกิจกรรม กลไกในการระดมจิตอาสาสมาชิก และสร้างความสามัคคี การสร้างนวัตกรรม การริเริ่มสร้างสรรค์ ในการจัดโครงการจิตอาสา เทคนิคบริหารโครงการที่ดี โดยเน้นโครงการที่สอดคล้องกับการวางแผน การสื่อสารอย่างถูกต้อง และความต่อเนื่องในการทำกิจกรรมจิตอาสา

 Definition, activities, models of the volunteer spirit within and outside the country, cycles of activity operation, mechanisms to mobilize volunteer members and promote solidarity, innovation, creativity of volunteer spirit project arrangement, techniques to manage good projects focusing on particular projects relevant to planning, good communication, and continuity of volunteer spirit activity operation

รหัสวิชา      40430659      
ชื่อวิชา        จิตตปัญญาศึกษาเพื่อการพัฒนาตนเอง 
                    Contemplative Education for Self Development                               
หน่วยกิต    2(2-0-4)

การพัฒนาตนเองสำหรับบัณฑิตที่พึงประสงค์ในยุคโลกาภิวัตน์โดยใช้แนวคิดจิตตปัญญาเป็นฐาน เน้นการให้คุณค่ากับการเรียนรู้ด้วยใจที่ใคร่ครวญ และการพัฒนามิติด้านในของมนุษย์สู่การพัฒนาศักยภาพที่สูงสุด แนวคิดและกระบวนการเรียนรู้ การบูรณาการและผสานสรรพศาสตร์ การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง การคิดอย่างเป็นระบบ การเรียนรู้ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงภายใน การรับฟังอย่างลึกซึ้ง สุนทรียสนทนา ศาสตร์แห่งนพลักษณ์ การพัฒนาทักษะและคุณภาพแห่งการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความใฝ่เรียนและฝึกตนเองอย่างต่อเนื่องและอย่างสมดุลทั้งกาย ใจ จิตวิญญาณ การรู้จักจิตของตนเองจนเกิดการเปลี่ยนแปลงสู่ปัญญาในการใช้ชีวิตและการประกอบวิชาชีพอย่างเท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบัน

Self development for expected graduates in globalization by using contemplative education as a basis focusing on the value of learning through concentration and reflection to allow students to develop full potential, concepts and learning process, integration and interdisciplinary, learning through direct experience, system thinking, learning leading to internal change, deeply-acquired listening, aesthetic conversation, personality science, skill development and learning quality in order to encourage student eager to learn and practice continuously with physical, mental and spiritual balance, comprehension of self-soul change leading to wisdom for daily life and advancing professional and career opportunities in today’s society

รหัสวิชา     26510359      
ชื่อวิชา       มนุษย์กับทักษะการคิด 
                   Man and Thinking Skills                                                                 
หน่วยกิต   2(2-0-4)

ความหมาย คุณค่าของการคิด วิธีการคิด การใช้ปัญญาหาเหตุผล และการนำทักษะการคิดไปใช้เพื่อป้องกัน และแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน

Meaning and value of thinking, method of thinking, reasoning and application of thinking skills to prevent and solve the problems in daily life

รหัสวิชา     40421259      
ชื่อวิชา     การพัฒนาทักษะการคิดนอกกรอบ
                  Lateral Thinking Skill Development                                         
หน่วยกิต  2(2-0-4)

ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญ หลักการ แนวคิด และประเภทของการคิดนอกกรอบ การพัฒนาการคิดนอกกรอบอย่างเป็นระบบ เทคนิคการคิดนอกกรอบขั้นพื้นฐาน ขั้นก้าวหน้า และขั้นรอบรู้ การสร้างผลงานการคิดนอกกรอบ เทคโนโลยีสารสนเทศในการสร้างผลงานการคิดนอกกรอบ งานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการคิดนอกกรอบ การสร้างทีมงานเพื่อการคิดนอกกรอบการนำเสนอผลงานการคิดนอกกรอบในการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์และมีคุณธรรม

Definition, background, importance, principles, guidelines and types of lateral thinking; systematic lateral thinking development; basic, advanced and skillful lateral thinking techniques; work creation on lateral thinking; Information technology for work creation on lateral thinking; researches about lateral thinking development; ; creating team work on lateral thinking; presentation work creation on lateral thinking to solve daily life problems creatively and ethically

รหัสวิชา    24510159      
ชื่อวิชา      ทักษะสารสนเทศในสังคมฐานความรู้
                   Information Skills in Knowledge-based Society                                       
หน่วยกิต  3(3-0-6)

บทบาทของสารสนเทศในบริบทสังคมฐานความรู้ สารสนเทศในบริบทขององค์กรและในชีวิตประจำวัน ทรัพยากรสารสนเทศ วิธีการเข้าถึงสารสนเทศ กลยุทธ์การสืบค้น ทักษะทางสารสนเทศเพื่อประกอบการศึกษาค้นคว้าและวิจัย การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การสรุป การตีความ การประเมิน การเรียบเรียงการอ้างอิงและการนำเสนอสารสนเทศในลักษณะต่าง ๆ การใช้สารสนเทศอย่างเป็นธรรม การสร้างสรรค์ผลงานวิชาการอย่างมีจริยธรรม

Role of information in knowledge-based society; context of information in organization and daily life; information resources; search strategies; procedure for accessing information; information skills for study and research; analyzing, synthesizing, summarizing, interpreting, evaluating, arranging, citing and presenting information in various types; faire use of information; ethical creating academic work

2) หมวดวิชาเฉพาะ

2.1) วิชาเอกบังคับ   

รหัสวิชา     26512159      
รายวิชา     ศาสนาเบื้องต้น
                   Introduction to Religion                                                                
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย บ่อเกิด ประเภทของศาสนา ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนา ระบบศีลธรรม ความเชื่อของศาสนาที่ยังดำรงอยู่ในสังคม บทบาทและความสำคัญของศาสนาในชีวิตประจำวัน

Meaning, origin and types of religions, relations among religions, moral standards and religious beliefs in a society, role and importance of religions in everyday life

รหัสวิชา     26522159      
ชื่อวิชา      พุทธศาสนาเถรวาท
                  Theravada Buddhism                                                          
หน่วยกิต   3(3-0-6)

กำเนิดและพัฒนาการของพุทธศาสนาเถรวาท วิเคราะห์หลักคำสอนสำคัญ อริยสัจ 4 ไตรลักษณ์ปฎิจจสมุปบาท กรรม และนิพพาน

The Origin and development of Theravada Buddhism, an analysis on main doctrines; the Four Noble Truths, the Three Characteristics, the Dependent Origination, Kamma and Nibbana

รหัสวิชา     26522259      
ชื่อวิชา       พุทธศาสนาในประเทศไทย
                   Buddhism in Thailand                                                   
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ประวัติของพุทธศาสนาในประเทศไทย พุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนธรรมและเป็นสถาบัน อิทธิพลของพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทย

History of Buddhism in thailand, Buddhism as religion and as institution.  influence of Buddhism on Thai society

รหัสวิชา    26532159      
ชื่อวิชา      พุทธศาสนามหายาน
                  Mahayana Buddhism                                                         
หน่วยกิต  3(3-0-6)

กำเนิด พัฒนาการ หลักคำสอน นิกายสำคัญของพุทธศาสนามหายานของอินเดีย จีน อิทธิพลของพุทธศาสนามหายานที่มีต่อสังคมปัจจุบัน

Origin, development, doctrines and main Schools of Mahayana Buddhism in India and China, influence of Mahayana Buddhism on contemporary society

รหัสวิชา    26532259      
ชื่อวิชา      ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม 
                  Christianity and Islam                                           
หน่วยกิต   3(3-0-6)

กำเนิด พัฒนาการ หลักคำสอนสำคัญ อิทธิพล ความสัมพันธ์ของศาสนาคริสต์และอิสลามในโลกปัจจุบัน

Origin, development, important doctrines, influence relation between Christianity and Islam in the contemporary world

รหัสวิชา     26542259      
ชื่อวิชา       ปรากฏการณ์ทางศาสนาและปัญหาสังคมร่วมสมัย                      
                   Religious Phenomena and Contemporary Social Problems
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย บ่อเกิด ปรากฏการณ์ทางศาสนา ขบวนการทางศาสนาในสังคมสมัยใหม่ บทบาทของศาสนากับการแก้ปัญหาสังคมร่วมสมัย

Meaning, source, phenomena of religions, religious movements in modern society, role of religions in solving social problems in contemporary society

รหัสวิชา     26548159     
ชื่อวิชา       สมาธิในพุทธศาสนา 
                  Buddhist Meditation                                                         
หน่วยกิต    3(2-2-5)

ความหมาย ประเภท วิธีการฝึกสมาธิ การนำสมาธิมาประยุกต์ในชีวิตประจำวัน

Meaning, types, methods of meditation, an application of meditation to everyday life

รหัสวิชา     26513159     
ชื่อวิชา       ปรัชญาเบื้องต้น
                   Introduction to Philosophy                                                               
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขต สาขาปรัชญา และวิธีการทางปรัชญา ปัญหาพื้นฐานทางปรัชญา แนวคิดของนักปรัชญา

Meaning, scope, branches and methods of philosophy, fundamental problems and philosopher’s thoughts

รหัสวิชา     26513259     
ชื่อวิชา       อภิปรัชญา
                   Metaphysics
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขตของอภิปรัชญา แนวคิดหลักของอภิปรัชญาตะวันตกและตะวันออก แนวคิดเจตจำนงเสรี แนวคิดจิตนิยม วัตถุนิยม ธรรมชาตินิยม ทฤษฎีว่าด้วยความจริง

Meaning, scope and main concepts of Western and Eastern metaphysics, including Free Will, Idealism, Materialism, Naturalism, the Theory of Truth

รหัสวิชา     26523159      
ชื่อวิชา      ปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ
                  Ancient Indian Philosophy                                                   
หน่วยกิต   3(3-0-6)

พัฒนาการของปรัชญาอินเดียยุคพระเวท อุปนิษัท ภควัทคีตา จารวาก เชน ปรัชญาอินเดีย 6 สำนัก อิทธิพลของปรัชญาอินเดียที่มีต่อสังคมปัจจุบัน

The Development of Indian Philosophy since the Periods of Vedas, Upanishads, Bhagavad-Gita, Carvaka, Jainism, Six Schools of Indian Philosophy, influences of Indian Philosophy on contemporary society

รหัสวิชา     26523259      
ชื่อวิชา      ปรัชญาตะวันตก 1  
                  Western Philosophy I                                                          
หน่วยกิต   3(3-0-6)

กำเนิด การวิวัฒนาการปรัชญาตะวันตก วิเคราะห์ปรัชญากรีกและโรมันปรัชญาของโสเครตีส เพลโต อริสโตเติล

The Origin, development of Western philosophy, an analysis of Greek and Roman philosophy, the philosophy of Socrates, Plato and Aristotle

รหัสวิชา     26515159     
ชื่อวิชา       จริยศาสตร์
                   Ethics                                                                     
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ศึกษาวิเคราะห์ทฤษฎีสำคัญทางจริยศาสตร์ที่เกี่ยวกับความดี คุณธรรม ความยุติธรรม คุณค่าของชีวิต การประยุกต์จริยศาสตร์ในชีวิตประจำวัน

An Analytical study of important ethical theories, concerning goodness, virtue, justice value of life, an application of ethics to everyday life

รหัสวิชา     26524159      
ชื่อวิชา       ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
                   Introduction to Logic                                                         
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ความหมาย ความสำคัญของการอ้างเหตุผล การอ้างเหตุผลแบบนิรนัย อุปนัย ความสมเหตุสมผลในการอ้างเหตุผล ข้อบกพร่องในการอ้างเหตุผล วิธีแก้ไข วินิจฉัยการอ้างเหตุผลที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

Meaning, importance of reasoning, deductive reasoning, inductive reasoning, validity, fallacy proving, the remedy, studying reasoning in everyday life

รหัสวิชา    26537159      
ชื่อวิชา      ญาณวิทยา 
                  Epistemology                                                                     
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขตของญาณวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างญาณวิทยากับศาสตร์อื่นๆ แนวคิดหลักทางญาณวิทยาตะวันตกและตะวันออก

Meaning, scope of epistemology, relation between epistemology and other sciences, main concepts of Western and Eastern epistemology

รหัสวิชา     26546159      
ชื่อวิชา       สุนทรียศาสตร์
                   Aesthetics
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ปัญหาทางสุนทรียศาสตร์ ทฤษฎีเกี่ยวกับความงาม ธรรมชาติของความงาม สิ่งที่งาม ศิลปวิจารณ์

Meaning, problems of aesthetics, theories of beauty, nature of beauty art criticism

รหัสวิชา     26549159      
ชื่อวิชา      การศึกษาอิสระ
                   Independent Study
หน่วยกิต   3(1-4-4)

ศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่นิสิตสนใจอย่างลึกซึ้งในด้านศาสนาและปรัชญา โดยความเห็นชอบและการควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษา

Studying and searching in dept in any interesting topics within religious and philosophical areas through the approval and guidance of adviser

2.2)  วิชาเอกเลือก

รหัสวิชา     26532359     
ชื่อวิชา       ศาสนาเปรียบเทียบ 
                   Comparative Religion                                                         
หน่วยกิต    3(3-0-6)

เปรียบเทียบประวัติ หลักคำสอน หลักปฏิบัติ ปรัชญาของศาสนา ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนา อิทธิพลของศาสนาที่มีต่อชีวิตและสังคม

A Comparison of history, doctrines, practices, philosophy of religions, relation among religions, influence of religion on individual and society

รหัสวิชา     26532459      
ชื่อวิชา      พุทธศาสนากับการพัฒนาสังคม 
                  Buddhism and Social development                                            
หน่วยกิต   3(3-0-6)

วิเคราะห์พุทธศาสนา บทบาทของพระสงฆ์ในสังคมไทย ที่เกี่ยวกับการพัฒนา การแก้ปัญหาสังคมด้านการศึกษา สังคมสงเคราะห์ สิ่งแวดล้อม

An Analytical study on Buddhism, the role of buddhist monks in developing society, solving social problems in Thai society about education, social work, environment

รหัสวิชา     26532559      
ชื่อวิชา       ศาสนากับวัฒนธรรม 
                   Religion and Culture                                                         
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ความสัมพันธ์ของศาสนากับวัฒนธรรม โดยมุ่งความสนใจไปที่การพิจารณาและวิเคราะห์นัยสำคัญของศาสนาในวัฒนธรรม จารีตประเพณีต่างๆ รวมทั้งชีวิตประจำวันของผู้คนในสังคม

Relationship between religion and culture, focusing to examine and analyze the significance of religion in culture, tradition and everyday life

รหัสวิชา     26532659      
ชื่อวิชา       พระไตรปิฎกศึกษา
                   Tipitaka Study                                                           
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ความเป็นมา ความสำคัญ พัฒนาการ โครงสร้าง เนื้อหาสาระของพระไตรปิฎก คำอธิบายพระไตรปิฎกของพระอรรถกถาจารย์ การรักษาสืบทอดพระไตรปิฎก ความเป็นมาของพระไตรปิฎกในประเทศไทย และประโยชน์จากการศึกษาพระไตรปิฎก

Origin, importance, development, structure and content of Tipitaka; Tipitaka’s interpretation, Tipitaka’s inheritance, history of Tipitaka in Thailand, and benefit of Tipitaka’s study

รหัสวิชา      26542359      
ชื่อวิชา        พุทธเศรษฐศาสตร์   
                     Buddhist Economics                                                         
หน่วยกิต     3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขตของพุทธเศรษฐศาสตร์ การประยุกต์พุทธธรรมด้านการผลิต การค้า การบริโภค การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ เศรษฐกิจ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Meaning and scope of Buddhist economics, the application of Buddhist Dharma to production, commerce, consumption, human resource development, natural resource, economics, philosophy of sufficiency economy

รหัสวิชา     26533159      
ชื่อวิชา       ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย
                   Contemporary Indian Philosophy                                                      
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญาอินเดียโบราณกับปรัชญาอินเดียร่วมสมัย แนวคิดของนักปรัชญาอินเดียร่วมสมัยที่ได้รับอิทธิพลจากนักปรัชญาตะวันตก สวามีวิเวกานันทะ ระพินทรนาถ ฐากูร มหาตมะ คานธี  ศรี ออโรพินโท ศ.กฤษณจันทระ ภัฏฏาจารย์ กฤษณะ มูรติ ดร.เอ็มเบ็ดการ์ ดร. สารเวปัลลี ราธกฤษณัน ดร. ซาอิกห์ โมฮัมหมัด อิกบัล

The relation between Ancient Indian Philosophy and contemporary Indian philosophy, study of the thought of contemporary Indian philosophers with Western Influence, Swami Vivekananda, Rabindranath Tagore, Mahatma Gandhi, Sri Aurobindo, Krishnachandra, Prof. Bhattacharyya Krishnamurti, Dr. Ambedkar, Dr. Sarvepalli Radhakrishnan, Dr. Shaikh Muhammad Iqbal

รหัสวิชา     26533259      
ชื่อวิชา      ปรัชญาตะวันตก 2       
                   Western Philosophy II                                                    
หน่วยกิต   3(3-0-6)

กำเนิด วิวัฒนาการของปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ วิเคราะห์แนวคิดของนักปรัชญาเหตุผลนิยม ประสบการณ์นิยม ปรัชญาของค้านท์ ปรัชญาของเฮเกล

Origin, development of modern Western philosophy, analysis of the thoughts of Rationalist, Empiricist, Kant, Hegel

รหัสวิชา     26533359      
ชื่อวิชา       ปรัชญาการศึกษา  
                   Philosophy of Education                                                           
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขต แนวคิดสำคัญทางการศึกษาของปรัชญาตะวันตกและตะวันออก ปรัชญาการศึกษาของไทย

Meaning, scope and important concepts of Western and Eastern philosophy of education, the philosophy of Thai education

รหัสวิชา     26533459      
ชื่อวิชา       ปรัชญาการเกษตร 
                   Philosophy of Agriculture                                                           
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมายและความเป็นมาของปรัชญาการเกษตร ทฤษฎีปรัชญาการเกษตร รัฐกับการอุดหนุนการเกษตร ปัญหาสำคัญในการเกษตร ปัญหาการปลูกพืชจีเอ็มโอ เทคโนโลยีกับการเกษตร การเกษตรกับปัญหาอาหารโลก การเกษตรกับปัญหาสิ่งแวดล้อม จริยธรรมของการเกษตรต่อผู้บริโภค การเกษตรกับชีวิตที่ดี

Meaning and the origin of philosophy of agriculture; theories in philosophy of agriculture; government and agriculture’s subsidy, main issues in agriculture, problem of GMO plantation, technology and agriculture; agriculture and world food problem; agriculture and environment problem, agricultural ethics toward consumer; agriculture and good life

รหัสวิชา     26533559      
ชื่อวิชา       ปรัชญาวิทยาศาสตร์                                                         
                   Philosophy of Agriculture
หน่วยกิต    3(3-0-6)

 ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับวิทยาศาสตร์ วิธีการแสวงหาความรู้ การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ผลกระทบจากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ความสอดคล้องกันระหว่างพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์

The Relation between philosophy and science, the method of knowledge acquisition, the paradigm change, the impact of science, technology, the congruence between Buddhism and science

รหัสวิชา     26533659      
ชื่อวิชา      ปรัชญาไทย
                  Thai Philosophy                                                                       
หน่วยกิต   3(3-0-6)

บ่อเกิด ที่มาของปรัชญาไทย แนวคิดของนักคิดไทยที่ปรากฏในวรรณกรรม ตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน  กระแสแนวคิดปัจจุบัน

Origin, background of Thai philosophy, thoughts of Thai intellectuals, as seen from Sukhothai literature to contemporary ones, the contemporary trend of thought

รหัสวิชา     26533759      
ชื่อวิชา       ปรัชญาจีนและญี่ปุ่น
                   Chinese and Japanese Philosophy                                                         
หน่วยกิต   3(3-0-6)

Chinese and Japanese Philosophy

แนวคิดทางปรัชญาของจีน ญี่ปุ่นที่มีอิทธิพลต่อสังคม วัฒนธรรมของทั้งสองประเทศ

Chinese and Japanese philosophical thought influencing the society, the culture of both countries

รหัสวิชา     26533859      
ชื่อวิชา      ปรัชญาภาษา  
                   Philosophy of Language                                                                
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขตของภาษา ความสัมพันธ์ระหว่างภาษา ความคิด ความจริง แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาภาษา วิกต์เกนสไตส์ เบอร์ทรันด์ รัซเซลล์ กิลเบิร์ต ไรส์ ชอมสกี้

Meaning, scope of language, relation between language, thought, truth. important concepts of philosophers of language, Wittgenstein, Bertrand Russell, Gylbert Ryle, Chomsky

รหัสวิชา     26543159      
ชื่อวิชา       ปรัชญาจิต 
                   Philosophy of Mind                                                                   
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ความหมาย ประเภท ลักษณะเฉพาะของจิต ความสัมพันธ์ระหว่างกายกับจิต แนวคิดหลัก เรื่องจิตของปรัชญาตะวันตกและปรัชญาตะวันออก ปัญญาประดิษฐ์ (เครื่องจักรกล) อมตภาพของวิญญาณ

Meaning, types and specific characteristics of mind, relation between body and mind, main concepts of mind of Western and Eastern philosophy, artificial intelligence (Machine), the immortality of soul

รหัสวิชา     26543259      
ชื่อวิชา       ปรัชญาเปรียบเทียบ  
                   Comparative Philosophy                                                       
หน่วยกิต    3(3-0-6)

วิเคราะห์ เปรียบเทียบบ่อเกิด ทัศนะของปรัชญาตะวันตก-ตะวันออก ในด้านอภิปรัชญา ญาณวิทยา จริยศาสตร์ สุนทรียศาสตร์

Analysis and comparison of origin, concepts of Western and Eastern philosophy in metaphysics, epistemology, ethics, aesthetics

รหัสวิชา     26543359      
ชื่อวิชา       ปรัชญาสังคมและการเมือง
                   Social and Political Philosophy                                                  
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ความหมาย ขอบเขตของปรัชญาสังคมและการเมือง วิเคราะห์ปัญหาเรื่องสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค ความยุติธรรม อำนาจ ตามแนวคิดของปรัชญาสำนักหลัก เสรีนิยม สังคมนิยม อนาธิปัตย์นิยม พุทธปรัชญาเกี่ยวกับสังคมและการเมือง

Meaning and scope of social and political philosophy, an analysis of problems of right, freedom, equality, justice, power based on main Schools of philosophy Libertarianism, Socialism, Anarchism, Buddhist philosophy concerning society and polities

รหัสวิชา     26543459      
ชื่อวิชา       ปรัชญาศาสนา
                   Philosophy of Religions                                                                
หน่วยกิต   3(3-0-6)

ลักษณะ ขอบเขตของปรัชญาศาสนา ความสำคัญของเหตุผล และศรัทธาในศาสนา วิเคราะห์ปัญหาเรื่องพระเจ้า ปัญหาเรื่องความชั่ว อมตภาพของวิญญาณ จุดมุ่งหมายของศาสนา ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนา

Characteristics and scope of philosophy of religions, importance of reason and faith in religion,  analysis of the problems of God, Evil, the immortality of Soul, the aim of religion, the relation among religions

รหัสวิชา     26543559      
ชื่อวิชา       ปรัชญาหลังสมัยใหม่   
                   Postmodern Philosophy                                                      
หน่วยกิต   3(3-0-6)

พัฒนาการที่ก่อรูปแนวคิดหลังสมัยใหม่ การวิพากษ์ปรัชญาแนวสมัยนิยม ความคิดเกี่ยวอภิปรัชญา ญาณวิทยา จริยศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ของนักคิดสำคัญ  ลีโอตาร์ด, แดริดา ลาก็อง, ฟูโกต์, โบริยาร์ด

Development of Postmodern thought, critics of Modern philosophy, metaphysics, epistemology, ethical and aesthetical thought of important thinkers Lyotard, Derrida, Lacan, Foucault, Baudrillard

รหัสวิชา     26543659      
ชื่อวิชา      ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย
                   Contemporary Western Philosophy                                                  
หน่วยกิต   3(3-0-6)

วิเคราะห์ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย สำนักปฏิบัตินิยม ปฏิฐานนิยม ปรัชญาวิเคราะห์ ปรากฏการณ์วิทยา อัตถิภาวนิยม 

An Analysis the schools of contemporary Western philosophy, Pragmatism, Positivism, Analytical Philosophy, Phenomenology, Existentialism

รหัสวิชา     26543759      
ชื่อวิชา      ปรัชญาเพศและความรัก 
                   Philosophy of Sexuality and Love                                                    
หน่วยกิต   3(3-0-6)

มโนทัศน์เรื่องเพศและความรัก อภิปรัชญาและญาณวิทยาของเพศและความรัก จริยศาสตร์ทางเพศ ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวกับเพศและความรัก

Concepts of sexuality and love; metaphysics and epistemology of sexuality and love; sexual ethics; social issues concerning sexuality and love

รหัสวิชา     26525159      
ชื่อวิชา       จริยศาสตร์ประยุกต์                                                         
                   Applied Ethics
หน่วยกิต   3(3-0-6)

แนวคิดทางจริยศาสตร์ ความขัดแย้งทางจริยศาสตร์ วิธีการแก้ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการทำแท้ง การุณยฆาต วิศวพันธุกรรม เรื่องทางเพศ การฆ่าตัวตาย  ปัญหาจรรยาบรรณวิชาชีพ

Ethical concepts, conflicts and remedies about abortion, euthanasia,    bio-engineering, sexology, suicide, professional ethics

รหัสวิชา     26525259      
ชื่อวิชา       จริยศาสตร์สิ่งแวดล้อม   
                    Environmental Ethics                                                   
หน่วยกิต   3(3-0-6)

แนวคิด ทฤษฎีสำคัญทางจริยศาสตร์สิ่งแวดล้อมที่สะท้อนปัญหาสิ่งแวดล้อม ภาวะโลกร้อน แนวทางแก้ไขและการประยุกต์ในชีวิตประจำวัน

Concepts, important theories of environmental ethics reflecting environmental problems, global warming, remedy and the application to everyday life

รหัสวิชา     26545159      
ชื่อวิชา       พุทธจริยศาสตร์ 
                   Buddhist Ethics                                                               
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ปัญหาพื้นฐานของจริยศาสตร์เกี่ยวกับความดี ความชั่ว ความสุข เสรีภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับบุคคล บุคคลกับสังคม มาตรฐานแห่งความประพฤติที่ทำให้บุคคลและสังคมมีความสงบสุขตามทัศนะของพุทธศาสนา

Fundamental ethical problems about good and evil, happiness, freedom, relationship between individuals and society, standard of conduct enhancing peace and happiness in Buddhist perspective

รหัสวิชา     26534159      
ชื่อวิชา       ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์
                   Symbolic Logic                                                       
หน่วยกิต    3(3-0-6)

ใช้สัญลักษณ์แทนข้อความ การพิสูจน์ค่าความจริงของข้อความ การพิสูจน์ความสมเหตุสมผลของการอ้างเหตุผลด้วยวิธีการของตรรกศาสตร์สัญลักษณ์  ตรรกศาสตร์ข้อความ  ตรรกศาสตร์ภาคขยาย

An Application of symbol for the statement, proof of truth value of statement and validity of argument with the method of symbolic logic, propositional logic, predicate logic

3) วิชาเลือกเสรี

รหัสวิชา     26510059      
ชื่อวิชา       จริยธรรมในชีวิตประจำวัน
                   Ethics in Everyday Life                                        
หน่วยกิต    2(2-0-4)

ความหมาย ความสำคัญ วิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้งทางจริยธรรม เกี่ยวกับปัญหาการตัดสินใจ ปัญหาการทำปาณาติบาต  การประยุกต์จริยธรรมใช้ในชีวิตประจำวัน

Meaning, importance and analysis of ethical conflicts about decision making, killing, the application of ethics to everyday life

รหัสวิชา     26510159      
ชื่อวิชา       ปรัชญาในภาพยนตร์
                   Philosophy in Film                                                         
หน่วยกิต    2(2-0-4)

วิเคราะห์ประเด็นปัญหาปรัชญาที่ปรากฏในภาพยนตร์โดยตั้งอยู่บนฐานคิดเรื่องความจริง ความรู้ และความดี

An Analysis of philosophical problems in films based on concepts of reality, knowledge and  goodness

รหัสวิชา     26510259      
ชื่อวิชา       พุทธศาสน์
                   Buddhism                                                                     
หน่วยกิต    2(2-0-4)

หลักคำสอนของพุทธศาสนา นำมาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน  เพื่อให้บุคคลสังคมเกิดความสงบสุขและสันติ

Buddhist doctrines in everyday practices promotlng peace and non-violence to individuals and society

รหัสวิชา     26510459      
ชื่อวิชา       บาลีศึกษา 1 
                   Pali Study I                                                                     
หน่วยกิต    2(2-0-4)

ความเป็นมา ประโยชน์ของการศึกษาภาษาบาลี การอ่าน การเขียนภาษาบาลีที่เป็นภาษาไทย ภาษาโรมัน อักขรวิธี สมัญญาภิธาน สนธิ นามศัพท์ กิริยาศัพท์ หลักการแปลภาษาบาลี

Background, Usage of Pali Study, Reading, Writing Pali, in Both Thai, Roman Characters, The orthography and phonological system, Assimilation, Euphony,  Declension of nouns, Conjugation of verbs, principles of Pali translation

รหัสวิชา     26510559      
ชื่อวิชา       บาลีศึกษา 2   
                   Pali Study II                                                               
หน่วยกิต   2(2-0-4)

หลักไวยากรณ์ภาษาบาลี การประกอบศัพท์กิตก์ สมาส ตัทธิต หลักการแปลการแต่งประโยคภาษบาลี การวิเคราะห์ศัพท์ธรรมะกับภาษาบาลี

Principles of Pali grammar, primary derivatives, compound and secondary derivatives, principles of Pali translation, writing Pali sentences, analyzing Dharma vocabularies 

ชื่อวิชา      26510659      
รหัสวิชา    ภาษาฮินดี 1 
                 Hindi I                                                                  
หน่วยกิต   2(2-0-4)

อักษรเทวนาครี เรียนรู้ศัพท์ภาษาฮินดี ประมาณ 500 คำ โครงสร้างประโยค ฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน  วัฒนธรรมอินเดีย

Davanagri alphabet learn Hindi vocabulary of approximately 200 words, the structure of sentences developing skills of listening, writing, reading, writing, study Indian culture

รหัสวิชา    26510759      
ชื่อวิชา      ภาษาฮินดี 2    
                   Hindi II                                                               
หน่วยกิต   2(2-0-4)

เรียนรู้ศัพท์ภาษาฮินดี ประมาณ 800 คำ ไวยากรณ์ทักษะขั้นสูง ตอบคำถามเกี่ยวกับชีวิตประจำวัน สถานการณ์ ที่กำหนดขึ้น ทักษะการสนทนา โต้ตอบ วัฒนธรรมอินเดียอย่างลึกซึ้ง

Learn Hindi vocabulary of approximately 800 words, together with the advanced level of grammar answer questions about everyday life, situations, develop conversation skills, study Indian culture in detail

รหัสวิชา     26510859      
ชื่อวิชา       สตรีในพุทธศาสนา
                   Women in Buddhism                                                            
หน่วยกิต    2(2-0-4)

สถานภาพของสตรีในอินเดียก่อนพุทธกาล การเกิดขึ้นของภิกษุณี การแผ่ขยายภิกษุณีสงฆ์ออกไปสู่ประเทศต่างๆ การยกระดับ หน้าที่ บทบาทของสตรีในพุทธศาสนา

The Status of indian women before Buddhist period, the origin of Buddhist female monks, the spread of female monks to other countries, the development, the duties and the roles of female monks in Buddhism

ปีที่  1  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

ศึกษาทั่วไป

99910159

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

English for Communication

3 (3-0-6)

ศึกษาทั่วไป

73110159

ทักษะชีวิตและสุขภาพวัยรุ่น

Life Skill and Adolescent Health

2 (2-0-4)

ศึกษาทั่วไป

26510959

มนุษยศาสตร์เชิงบูรณาการ

Integrated Humanities

3 (3-0-6)

เอกบังคับ

26512159         

ศาสนาเบื้องต้น

Introduction to Religions

3 (3-0-6)

เอกบังคับ

26513159

ปรัชญาเบื้องต้น           

Introduction to Philosophy

3 (3-0-6)

รวม (Total)

14

 ปีที่  1  ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

ศึกษาทั่วไป

99910259

ภาษาอังกฤษระดับมหาวิทยาลัย

Collegiate English

3 (3-0-6)

ศึกษาทั่วไป

24510159

ทักษะสารสนเทศในสังคมฐานความรู้

Information Skills in Knowledge-based Society

3 (3-0-6)

ศึกษาทั่วไป

26510359

มนุษย์กับทักษะการคิด

Man and Thinking Skills

2 (2-0-4)

เอกบังคับ

26513259

อภิปรัชญา

Metaphysics

3 (3-0-6)

เอกบังคับ

26515159

จริยศาสตร์

Ethics

3 (3-0-6)

วิชาเลือกเสรี

xxxxxxxx

วิชาเลือกเสรี

2

รวม (Total)

16

 ปีที่  2  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

ศึกษาทั่วไป

99920159

การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

English Writing for Communication

3 (3-0-6)

ศึกษาทั่วไป

40421259

การพัฒนาทักษะการคิดนอกกรอบ

Lateral Thinking Skill Development

2 (2-0-4)

ศึกษาทั่วไป

41530359

จิตวิทยาเพื่อคุณภาพชีวิต

Psychology for the Quality of Life

2 (2-0-4)

เอกบังคับ

26524159

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

Introduction to Logic

3 (3-0-6)

เอกบังคับ

26522159

พุทธศาสนาเถรวาท

Theravada Buddhism

3 (3-0-6)

เอกเลือก

265xxxxx

วิชาเอกเลือก

3

วิชาเลือกเสรี

xxxxxxxx

วิชาเลือกเสรี

2

รวม (Total)

18

 ปีที่  2  ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

ศึกษาทั่วไป

22810159

ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

Thai Language Skills for Communication

3 (3-0-6)

ศึกษาทั่วไป

40430659

จิตตปัญญาศึกษาเพื่อการพัฒนาตนเอง

Contemplative Education for Self Development

2 (2-0-4)

ศึกษาทั่วไป

40240459

จิตอาสาเพื่อการพัฒนาสังคม

Volunteer Spirit for Social Development

2 (2-0-4)

เอกบังคับ

26522259

พุทธศาสนาในประเทศไทย

Buddhism in Thailand

3 (3-0-6)

เอกบังคับ

26523259

ปรัชญาตะวันตก 1

Western Philosophy I

3 (3-0-6)

เอกบังคับ

26523159

ปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ

Ancient Indian Philosophy

3 (3-0-6)

วิชาเลือกเสรี

xxxxxxxx

วิชาเลือกเสรี

2

รวม (Total)

18

 ปีที่  3  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

เอกบังคับ

26537159

ญาณวิทยา       

Epistemology

3 (3-0-6)

เอกบังคับ

26532159

พุทธศาสนามหายาน

Mahayana Buddhism

3 (3-0-6)

เอกเลือก

265xxxxx

วิชาเอกเลือก

12

รวม (Total)

18

 ปีที่  3  ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

เอกบังคับ

26532259

ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม

Christianity and Islam

3 (3-0-6)

เอกเลือก

265xxxxx

วิชาเอกเลือก

15

รวม (Total)

18

 ปีที่  4  ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

เอกบังคับ

26546159

สุนทรียศาสตร์   

Aesthetics

3 (3-0-6)

เอกบังคับ

26542259

ปรากฏการณ์ทางศาสนาและปัญหาสังคมร่วมสมัย   

Religious Phenomena and Contemporary Social Problems

3 (3-0-6)

เอกบังคับ

26548159

สมาธิในพุทธศาสนา

Buddhist Meditation

3 (2-2-5)

เอกเลือก

265xxxxx

วิชาเอกเลือก

9

รวม (Total)

18

ปีที่  4  ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสและชื่อรายวิชา

หน่วยกิต

(ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

เอกบังคับ

26549159

การศึกษาอิสระ

Independent Study

3 (1-4-4)

เอกเลือก

265xxxxx

วิชาเอกเลือก

9

รวม (Total)

12

1.  นายบุญเลิศ  ยองเพ็ชร  (ประธานหลักสูตร)
     ประวัติการศึกษา
     Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India  พ.ศ.2550
     M.A. (Philosophy) Vivekananda College, India  พ.ศ.2539
     พธ.บ. (ศาสนา)   มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2535
     ตำแหน่งทางวิชาการ    อาจารย์

2.  นายขันทอง วิชาเดช
     ประวัติการศึกษา
     ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2545
     พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540
     ตำแหน่งทางวิชาการ    อาจารย์

3.  นางพิชญรัตน์ เหมนาไลย
     ประวัติการศึกษา   
     พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2555
     ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา)  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2550
     คอ.บ. (ครุศาสตร์อุตสาหกรรม)  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี  พ.ศ. 2546
     ตำแหน่งทางวิชาการ    อาจารย์

4.  นางรุ่งนิภา เหลียง  
     ประวัติการศึกษา
     พธ.ด. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2559
     พธ.ม. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2551
     ศศ.บ. (ศาสนาและปรัชญา) เกียรตินิยมเหรียญทอง มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2548
     ตำแหน่งทางวิชาการ   อาจารย์

5.  นายปัทวี สัตยวงศ์ทิพย์      
     ประวัติการศึกษา
    ศศ.ม. (ไทยศึกษา)  มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2549
    พธ.บ. (การสอนสังคมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2542
     ตำแหน่งทางวิชาการ  อาจารย์

1.  นายบุญเลิศ  ยองเพ็ชร  (ประธานหลักสูตร)
     ประวัติการศึกษา
     Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India  พ.ศ.2550
     M.A. (Philosophy) Vivekananda College, India  พ.ศ.2539
     พธ.บ. (ศาสนา)   มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2535
     ตำแหน่งทางวิชาการ    อาจารย์

2.  นายขันทอง วิชาเดช
     ประวัติการศึกษา
    พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2562
    ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2545
    พธ.บ. (ปรัชญา) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540
     ตำแหน่งทางวิชาการ    อาจารย์

3.  นางพิชญรัตน์ เหมนาไลย
     ประวัติการศึกษา   
     พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2555
     ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2550
     ค.อ.บ. (ครุศาสตร์เทคโนโลยี) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2546
     ตำแหน่งทางวิชาการ    ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4.  นางรุ่งนิภา เหลียง  
     ประวัติการศึกษา
     พธ.ด. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2559
     พธ.ม. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2551
     ศศ.บ. (ศาสนาและปรัชญา) เกียรตินิยมเหรียญทอง มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2548
     ตำแหน่งทางวิชาการ   อาจารย์

5.  นายปัทวี สัตยวงศ์ทิพย์      
     ประวัติการศึกษา
    ศศ.ม. (ไทยศึกษา)  มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2549
    พธ.บ. (การสอนสังคมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2542
     ตำแหน่งทางวิชาการ  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

6.  นายสกุล อ้นมา
     ประวัติการศึกษา       
      Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India พ.ศ.2545
      M.A. (Philosophy) Madras Christian College India พ.ศ.2536
     พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2534
     ตำแหน่งทางวิชาการ    อาจารย์

7.  นายบุญรอด บุญเกิด 
     ประวัติการศึกษา       
     Ph.D. (Philosophy) University of Madras, India พ.ศ.2547
     M.A. (Philosophy) Madras Christian College India พ.ศ.2539
     พธ.บ. (ปรัชญา)  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2537
     ตำแหน่งทางวิชาการ    ผู้ช่วยศาสตราจารย์

8. นายชัยณรงค์ ศรีมันตะ  
    ประวัติการศึกษา
    Ph.D. (Philosophy) Panjab University, India พ.ศ.2546
    M.A. (Philosophy) University of Delhi, India พ.ศ.2537
    พธ.บ. (ปรัชญา)  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2534
    ตำแหน่งทางวิชาการ    ผู้ช่วยศาสตราจารย์

                 

ผลการเรียนรู้  Learning Outcome (LO)  ของภาควิชาศาสนาและปรัชญา

ด้านคุณธรรม จริยธรรม

1.มีคุณธรรมจริยธรรมในการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

2. มีวินัย เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น มีความเข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติ

3. มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ

4. มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

5. เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับขององค์กรและสังคม

ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

1. มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย

2. ปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการวางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ

3. สามารถวางแผนและรับผิดชอบการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

ด้านความรู้

1. มีความรู้ตามหลักการในศาสตร์ที่เรียนและสามารถนำไปประยุกต์ได้

2. มีความรู้ ความสามารถในการบูรณาการศาสตร์สาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อการดำรงชีวิตและประกอบวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางด้านวิชาการ และด้านการวิจัย รวมถึงการติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์ที่เรียน

ด้านทักษะการวิเคราะห์สื่อสารและการใช้เทคโนโลยี

1. ระบุเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์มาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมายได้

2. สรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการเขียน การพูด รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ

3. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้คอมพิวเตอร์ ในการจัดการข้อมูลได้อย่างเหมาะสม

ด้านทักษะทางปัญญา

1. สามารถค้นหาข้อเท็จจริง สรุป ทำความเข้าใจได้

2. สามารถศึกษาวิเคราะห์ปัญหา และหาแนวทางแก้ไข

3. มีทักษะการคิดที่เป็นระบบที่ได้รับการฝึกฝน

 

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด)

ให้เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 ข้อ 18 ระบบการให้คะแนน

1. ระบบการให้คะแนนของแต่ละรายวิชา ให้แสดงเป็นระดับขั้น ซึ่งมีความหมายและค่าระดับขั้นดังนี้

ระดับขั้น              ความหมาย                     ค่าระดับขั้น
A                        ดีเยี่ยม                                4.0
B+                      ดีมาก                                 3.5
B                        ดี                                        3.0
C+                     ค่อนข้างดี                           2.5
C                       พอใช้                                  2.0
D+                     อ่อน                                   1.5
D                       อ่อนมาก                             1.0
F                        ตก                                      0

2.  ระบบการให้คะแนนของแต่ละรายวิชา ที่ไม่แสดงเป็นค่าระดับขั้น ให้แสดงด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ ดังนี้                      

สัญลักษณ์        ความหมาย
S                       ผ่านตามเกณฑ์ (Satisfactory)
I                        การประเมินผลยังไม่สมบูรณ์ (Incomplete)
U                       ไม่ผ่านตามเกณฑ์ (Unsatisfactory)
W                      งดเรียนโดยได้รับอนุมัติ (Withdrawn)
au                      ลงทะเบียนเรียนรายวิชาโดยไม่นับหน่วยกิต (Audit)

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิต

    1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบประจำรายวิชา ประเมินข้อสอบให้มีความสอดคล้องกับการประเมินผลการเรียนรู้
    2. การประเมินผลของแต่ละรายวิชาต้องผ่านที่ประชุมของภาควิชาหรือคณะกรรมการที่ภาควิชาแต่งตั้งก่อนประกาศผลสอบ
    3. ตรวจสอบรายงานในรายวิชา

3. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

    – เรียนครบตามจำนวนหน่วยกิตที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
    – ระดับแต้มคะแนนเฉลี่ยสะสมขั้นต่ำ 2.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า
    – เกณฑ์อื่นๆ เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

Visits:2763
Today: 7
Total Visitors : 26785